Page 29 - วิศวกรรมซอฟต์แวร์
P. 29

การออกแบบซอฟต์แวร์เชิงวัตถุ 7-19

       ตัวอย่างท่ี 7.9 ก�ำหนดขอบเขตของปัญหาดังน้ี “นักกีฬาชื่อปล้ืมจิตรแข่งขันกีฬาวอลเล่ย์บอลที่จัดข้ึนใน
ประเทศสหรัฐอเมริกา”

            วัตถุ 	 คือ นักกีฬาช่ือปลื้มจิตร กีฬาวอลเล่ย์บอล ประเทศสหรัฐอเมริกา
            คลาส 	คือ นักกีฬา กีฬา ประเทศ

       ตวั อยา่ งท่ี 7.10 ก�ำหนดขอบเขตของปัญหาดังน้ี “นายสัตวแพทย์สมชายฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าให้
กับสุนัขช่ือเจ้าตูบ”

            วัตถุ 		คือ สัตวแพทย์สมชาย วัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า สุนัขช่ือเจ้าตูบ
            คลาส 	คือ สัตวแพทย์ วัคซีน สุนัข

6. 	องคป์ ระกอบของคลาส

       องค์ประกอบของคลาส ประกอบด้วย แอตทริบิวต์ที่ใช้บอกคุณสมบัติของคลาส และเมธอดหรือโอเปอเรชั่น
(operation) ท่ีใช้บอกหน้าท่ีการท�ำงานของคลาส ซึ่งได้จากความคิดรวบยอดหรือคอนเซ็บต์ท่ีได้ให้ไว้กับวัตถุในคลาส
น้ัน ๆ น่ันเอง เนื่องจากคลาสเป็นเหมือนพิมพ์เขียวของวัตถุ เช่น

       คลาสบัญชีธนาคาร ประกอบด้วย 	 แอตทริบิวต์ คือ ชื่อบัญชี เลขท่ีบัญชี ประเภทบัญชี
       	 เมธอด คือ แสดงเงินคงเหลือในบัญชี ฝากเงิน ถอนเงิน
       ส่วนวัตถุท่ีเป็นสมาชิกของคลาสบัญชี ได้แก่
       บัญชีธนาคาร A	 ม ีแอตทริบิวต์ คือ ช่อื นายสมพร ทองดี เลขทบ่ี ญั ชี 1234567890 ประเภทบญั ชี ออมทรัพย์

                     เมธอด คือ แสดงเงินคงเหลือในบัญชี ฝากเงิน ถอนเงิน

7. 	การสรา้ งคลาส

       กระบวนการในการให้ความคิดรวบยอด (concept) ให้กับวัตถุต่าง ๆ เพ่ือแยกแยะวัตถุและสร้างคลาสน้ัน
เรียกว่า การจ�ำแนกคลาสนามธรรม (classification abstraction) ซึ่งเป็นกระบวนการท่ีใช้แยกประเภทวัตถุต่าง ๆ
ท่ีอย่ใู นขอบเขตของปญั หา และใหค้ วามคดิ รวบยอดกบั วตั ถตุ า่ ง ๆ เหล่านนั้ เพื่อใหไ้ ด้ “คลาสพนื้ ฐาน” (fundamental
class) ทตี่ อ้ งการ เนอ่ื งจากไมส่ ามารถใชค้ วามคดิ รวบยอดเพยี งหนงึ่ เดยี วในการแยกแยะทกุ วตั ถใุ นขอบเขตของปญั หา
ได้ ซ่ึงเป็นการตอบค�ำถามว่าวัตถุตัวใดตัวหน่ึงนั้นเป็นสมาชิกของกลุ่มวัตถุใด หรือคือ คลาสใดนั่นเอง (is member
of) การจ�ำแนกคลาสนามธรรมหรือการสร้างคลาสจากวัตถุ แสดงด้วยสัญลักษณ์ลูกศรท่ีลากเป็นเส้นประจากวัตถุ
ไปยังคลาส

       ตัวอย่างท่ี 7.11 ตัวอย่างกระบวนการจ�ำแนกคลาสนามธรรม สมมติว่า ค้นหาวัตถุจากขอบเขตของปัญหา
ท�ำให้ได้วัตถุ คือ รถจักรยานยนต์ซูซูกิ รถยนต์ฮอนด้า รถทัวร์สายกรุงเทพฯ-เชียงใหม่ นายสมชาย นางสมศรี และ
นางสมร จากน้ันให้ความคิดรวบยอดกับรถ คือ มีเครื่องยนต์ มีล้อ ว่ิงบนถนนได้ และใช้ก๊าซหรือน้�ำมันเป็นเช้ือเพลิง
และให้ความคิดรวบยอดกับคน คือ มีหู มีตามีจมูก มีปาก เดินได้ ดังน้ัน สามารถก�ำหนดคลาสรถและคลาสคนข้ึน
เป็นคลาสพ้ืนฐานได้ และหากพิจารณาความคิดรวบยอดของรถจะพบว่าวัตถุที่มีความคิดรวบยอดในลักษณะที่
กำ� หนดน้ี หรอื วตั ถทุ เี่ ปน็ สมาชกิ ของคลาสรถน้ี คอื รถจกั รยานยนตซ์ ซู กู ิ รถยนตฮ์ อนดา้ รถทวั รส์ ายกรงุ เทพฯ-เชยี งใหม่
และวัตถุที่เป็นสมาชิกของคลาสคน คือ นายสมชาย นางสมศรี และนางสมร โดยสามารถแสดงสัญลักษณ์
จากการจ�ำแนกคลาสนามธรรมที่สมบูรณ์ได้ดังน้ี
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34