Page 32 - วิศวกรรมซอฟต์แวร์
P. 32
7-22 วิศวกรรมซอฟต์แวร์
กิจกรรม 7.1.2
1. กำ�หนดขอบเขตของปญั หาดงั นี้ “คณะวทิ ยาศาสตรเ์ ปดิ สอนวชิ าเคมี ชวี วทิ ยา ฟสิ กิ สใ์ หก้ บั นกั ศกึ ษา
ในสาขาวชิ าคอมพวิ เตอร์ สาขาวทิ ยาศาสตรศ์ กึ ษา และสาขาวทิ ยาศาสตรช์ วี ภาพ” จงระบวุ ตั ถแุ ละคลาสทไ่ี ดจ้ าก
ขอบเขตของปญั หาดงั กล่าว
2. องค์ประกอบของคลาสมีอะไรบา้ ง จงอธบิ ายพรอ้ มยกตัวอยา่ งประกอบ
แนวตอบกจิ กรรม 7.1.2
1. จากขอบเขตของปัญหา สามารถระบคุ ลาสและวตั ถุในคลาสไดด้ งั น้ี
• คลาสรายวิชา ประกอบด้วยวตั ถุในคลาส คือ วิชาเคมี วิชาชวี วทิ ยา และวชิ าฟิสกิ ส์
• คลาสนกั ศกึ ษา
• คลาสสาขาวิชา ประกอบด้วย สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ สาขาวิทยาศาสตร์ศึกษา และสาขา
วิทยาศาสตรช์ ีวภาพ
2. คลาสประกอบด้วยแอตทริบิวต์และเมธอด เช่น คลาสนิสิต มีแอตทริบิวต์ คือ ชื่อ นามสกุล
รหสั นิสิต และมีเมธอด คือ ขอเปลยี่ นช่อื เปล่ียนนามสกลุ ได้
เรือ่ งท่ี 7.1.3
ความสัมพนั ธร์ ะหว่างคลาส
หลังจากผ่านกระบวนการจ�ำแนกคลาสนามธรรมแล้ว จะได้คลาสพื้นฐานพร้อมทั้งองค์ประกอบของคลาส
คือ แอตทรบิ ิวตแ์ ละเมธอด เกิดข้นึ มา และวตั ถุทีเ่ ป็นสมาชิกของคลาสนน้ั ๆ กระบวนการลำ� ดับถัดมาทีต่ อ้ งด�ำเนนิ การ
คือ การระบุความสัมพันธ์ระหว่างคลาส เนื่องจากในขอบเขตของปัญหาใด ๆ ก็ตาม คลาสพื้นฐานต่าง ๆ ที่ได้มามัก
จะมีความสัมพันธ์ระหว่างคลาสเกิดข้ึนด้วย ส�ำหรับเร่ืองความสัมพันธ์ระหว่างคลาสในเร่ืองน้ีจะขอกล่าวถึงลักษณะ
ของความสัมพันธ์ในแต่ละรูปแบบเท่านั้น ในหลักการเชิงวัตถุมีรูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างคลาสท่ีอาจเกิดข้ึนได้อยู่
4 ลักษณะ ดังนี้
1. การระบุคุณลักษณะทว่ั ไป
การระบุคุณลักษณะท่ัวไป (generalization) เป็นการจัดกลุ่มของแอตทริบิวต์และเมธอด ท่ีเป็นคุณลักษณะ
ท่ัวไปของหลาย ๆ คลาสเข้าด้วยกันเป็นคุณลักษณะของคลาสทั่วไป (general class) ส่วนกระบวนการย้อนกลับของ
การระบุคุณลักษณะท่ัวไป (generalization) เรียกว่า การระบคุ วามเฉพาะเจาะจง (specialization) ซึ่งเป็นการตอบ
ค�ำถามว่าในคลาสหน่ึง ๆ สามารถจ�ำแนกเป็นคลาสอะไรได้บ้าง