Page 38 - วิศวกรรมซอฟต์แวร์
P. 38

7-28 วิศวกรรมซอฟต์แวร์

หลักการในการสรา้ งความสัมพันธ์แบบเกย่ี วขอ้ งกนั สามารถท�ำได้ตามขั้นตอนต่อไปน้ี
1. 	เขียนคลาส 2 คลาสท่ีมีความสัมพันธ์ และลากเส้นตรงพร้อมท้ังใส่ชื่อความสัมพันธ์

                        	 ลูกค้า	  ซื้อ        สินค้า

       2. 	เขียนลูกศรเพ่ือแสดงทิศทางของการอ่านความสัมพันธ์ให้ถูกต้อง (หรือหากไม่เขียนลูกศรแสดงทิศทาง
สามารถก�ำหนดความสัมพันธ์แบบ 2 ทิศทางก็ได้ โดยอ่านช่ือความสัมพันธ์ด้านบนเส้นจากซ้ายไปขวา และชื่อความ
สัมพันธ์ใต้เส้นจากขวามาซ้าย)

                        	 ลูกค้า	    ซื้อ      สินค้า
                                   ถูกซื้อโดย

       3. 	พิจารณาคลาสที่อยู่ในทิศทางที่หัวลูกศรช้ีไป ว่ามีความสัมพันธ์กับคลาสแรกด้วยจ�ำนวนน้อยท่ีสุดและ
มากท่ีสุดเท่าใด

                        	 ลูกค้า	  ซื้อ	 0..*  สินค้า

       4. 	พิจารณาคลาสท่ีอยู่ในทิศทางตรงข้ามหัวลูกศร ว่ามีความสัมพันธ์กับคลาสท่ีสองด้วยจ�ำนวนน้อยที่สุด
และมากท่ีสุดเท่าใด

                         	 ลูกค้า  	 0..*   ซื้อ	 0..* สินค้า

       ความสัมพันธ์ทั้งหมดที่ได้กล่าวมาแล้วน้ัน เป็นแนวคิดในการมองความสัมพันธ์ระหว่างวัตถุในคลาส ใน
ขั้นตอนต่อไปนักวิเคราะห์และออกแบบระบบจะแทนคลาสและความสัมพันธ์ระหว่างคลาสที่วิเคราะห์ได้ทั้งหมดด้วย
คลาสไดอะแกรมซ่ึงเป็นหนึ่งในแผนภาพตามมาตรฐานของภาษายูเอ็มแอล ท่ีได้กล่าวไปแล้วในหน่วยที่ 5

กจิ กรรม 7.1.3
       1. 	 ความสัมพันธ์ระหวา่ งคลาสมดี ้วยกันก่รี ูปแบบ อะไรบา้ ง
       2. 	 ความสมั พันธ์ในลกั ษณะ “is-part-of” มีอะไรบ้าง และมคี วามแตกต่างกนั อยา่ งไร
       3. 	 คา่ ของจำ�นวนสมาชกิ ของคลาสทเ่ี ปน็ ไปไดใ้ นความสมั พนั ธแ์ บบเกยี่ วขอ้ งกนั หรอื คา่ “multiplicity”

แบง่ ไดเ้ ป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43