Page 39 - วิศวกรรมซอฟต์แวร์
P. 39

การออกแบบซอฟต์แวร์เชิงวัตถุ 7-29
แนวตอบกจิ กรรม 7.1.3

       1. 	 ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งคลาสมดี ว้ ยกนั 4 รปู แบบ คอื การระบคุ ณุ ลกั ษณะทว่ั ไป (generalization) การ
เป็นส่วนหนง่ึ ของ (aggregation) การเป็นองคป์ ระกอบของ (composition) และความเก่ยี วข้องกนั (association)

       2. 	 ความสัมพันธ์ในลักษณะ “is-part-of” มีด้วยกัน 2 รูปแบบ คือ การเป็นส่วนหนึ่งของ (aggrega-
tion) และการเป็นองค์ประกอบของ (composition) โดยความสัมพันธ์ทั้งสองแม้จะมีลักษณะเหมือนกันคือ
เป็นความสัมพันธ์ท่ีคลาสย่อยเป็นส่วนประกอบของคลาสหลัก แต่มีความแตกต่างกันคือ ความสัมพันธ์แบบ
การเปน็ สว่ นหน่ึงของน้นั แม้วา่ จะไม่มคี ลาสยอ่ ยก็ไมท่ ำ�ใหค้ ณุ สมบตั ิของความเป็นคลาสหลกั สญู เสยี ไปแต่อย่าง
ใด แต่ความสัมพันธ์แบบการเป็นองค์ประกอบของคลาสย่อยหรือส่วนประกอบย่อยจะไม่สามารถถูกนำ�ออก
จากส่วนประกอบหลักได้ เพราะถ้านำ�ส่วนประกอบย่อยออกไปแล้วส่วนประกอบหลักก็จะสูญเสียคุณสมบัติ
ของความเปน็ คลาสนน้ั ๆ ไป

       3. 	 คา่ ของจำ�นวนสมาชกิ ของคลาสทเ่ี ปน็ ไปไดใ้ นความสมั พนั ธแ์ บบเกย่ี วขอ้ งกนั หรอื คา่ “multiplicity”
แบง่ ไดเ้ ปน็ 3 ประเภท คอื ความสมั พนั ธแ์ บบหนงึ่ ตอ่ หนงึ่ (1:1) ความสมั พนั ธแ์ บบหนง่ึ ตอ่ กลมุ่ (1:M) และความ
สัมพนั ธ์แบบกลมุ่ ตอ่ กล่มุ (M:N)
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44