Page 12 - ศิลปะกับสังคมไทย
P. 12

9-2 ศิลปะกับสงั คมไทย

                       แผนการสอนประจ�ำหนว่ ย

ชดุ วิชา 	 ศลิ ปะกับสงั คมไทย
หน่วยที่ 9 	 ดนตรกี ับสงั คมไทย
ตอนท่ี

       9.1 	ความเป็นมา สถานภาพ และการอนรุ ักษ์ดนตรไี ทย
       9.2 	ดนตรใี นราชส�ำนัก
       9.3 	ดนตรพี นื้ บา้ นในสงั คมไทย

แนวคิด

       1.	 ดนตรีเป็นศิลปะแขนงหนึ่งของไทย โดยในสมัยกรุงสุโขทัยมีหลักฐานชัดเจนที่กล่าวถึงดนตรี
          ปรากฏในศิลาจารกึ หลักท่ี 1 ไตรภูมิพระร่วง ศลิ าจารกึ ภูเขาสุมนกูฎ และศิลาจารึกวัดพระยนื
          และจากนน้ั กม็ กี ารพฒั นาเรอื่ ยมา แตป่ จั จบุ นั ดว้ ยสภาพของสงั คมไทยทม่ี กี ารเปลยี่ นแปลงไป
          ทำ� ใหด้ นตรีไทยในปัจจบุ นั ไม่คอ่ ยได้รบั ความสนใจจากคนร่นุ ใหม่เทา่ ที่ควร

       2.	 ด นตรใี นราชสำ� นกั เปน็ เครอ่ื งมอื ชนดิ หนง่ึ ทใ่ี ชบ้ รรเลงในงานพระราชพธิ ตี า่ งๆ โดยมกี ารกำ� หนด
          บทเพลงต่างๆ ที่ใช้ในพระราชพิธี ซึ่งแบ่งได้เป็น 2 ประเภทคือ ดนตรีในพระราชพิธีมงคล
          และดนตรใี นพระราชพิธีอวมงคล

       3.	 ด นตรพี ้นื บา้ นเปน็ ส่วนหนึง่ ของวิถชี ีวิต ใช้บรรเลงในพธิ กี รรม ประเพณีและโอกาสต่างๆ โดย
          แสดงให้เห็นถงึ อัตลกั ษณ์ทางวัฒนธรรมของแตล่ ะภูมิภาค

วัตถุประสงค์

       เมอ่ื ศกึ ษาหนว่ ยท่ี 9 จบแล้ว นกั ศกึ ษาสามารถ
       1.	 อธบิ ายความเปน็ มา สถานภาพ และการอนรุ ักษ์ดนตรีไทยได้
       2.	 อธิบายเกย่ี วกับดนตรีในราชสำ� นกั ได้
       3.	 อธิบายเกีย่ วกบั ดนตรีพนื้ บา้ นในสังคมไทยได้
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17