Page 14 - ศิลปะกับสังคมไทย
P. 14
9-4 ศลิ ปะกบั สงั คมไทย
ตอนท่ี 9.1
ความเปน็ มา สถานภาพ และการอนรุ กั ษ์ดนตรไี ทย
โปรดอ่านหวั เรอื่ ง แนวคดิ และวัตถุประสงค์ของตอนท่ี 9.1 แล้วจงึ ศึกษารายละเอียดตอ่ ไป
หัวเรอื่ ง
9.1.1 ความเปน็ มาของดนตรไี ทย
9.1.2 สถานภาพและการอนรุ ักษด์ นตรไี ทย
แนวคิด
1. ด นตรเี ปน็ ศิลปะแขนงหนงึ่ ของไทย ไดร้ ับอทิ ธพิ ลมาจากประเทศตา่ งๆ เชน่ อนิ เดยี จนี
อินโดนีเซีย และอ่ืนๆ โดยในสมัยกรุงสุโขทัยมีหลักฐานชัดเจนที่กล่าวถึงดนตรีปรากฏ
ในศิลาจารกึ หลักที่ 1 ไตรภมู พิ ระรว่ ง ศลิ าจารกึ ภเู ขาสมุ นกูฎ และศิลาจารึกวัดพระยนื
และจากน้นั กม็ กี ารพัฒนาเร่อื ยมาจนถงึ ปัจจบุ ัน
2. ส งั คมไทยในปจั จบุ นั กำ� ลงั กา้ วเขา้ สภู่ าวะของความเจรญิ กา้ วหนา้ ของสง่ิ ตา่ งๆ โดยเฉพาะ
อย่างย่งิ เทคโนโลยีสมยั ใหม่ ซึง่ เหลา่ น้เี ป็นความเจรญิ ในวัตถุ ด้วยสภาพสงั คมดังกล่าว
ทำ� ใหด้ นตรไี ทยในปจั จบุ นั ไมค่ อ่ ยไดร้ บั ความสนใจจากคนรนุ่ ใหมเ่ ทา่ ทค่ี วร และแมด้ นตรี
ไทยจะพยายามปรบั เปลย่ี นใหท้ นั กบั ยคุ สมยั ทเี่ ปลย่ี นแปลงไป แตก่ ใ็ ชว่ า่ จะสามารถตอบ
สนองความตอ้ งการทเ่ี ปลย่ี นไปของคนในสังคมไทยไดท้ ันทว่ งที
วัตถุประสงค์
เมือ่ ศกึ ษาตอนที่ 9.1 จบแลว้ นกั ศึกษาสามารถ
1. อธิบายความเปน็ มาของดนตรไี ทยได้
2. อธิบายสถานภาพและการอนรุ ักษด์ นตรีไทยได้