Page 19 - ศิลปะกับสังคมไทย
P. 19
ดนตรกี บั สงั คมไทย 9-9
1. วถิ ชี วี ติ ของคนในสงั คม วถิ กี ารดำ� เนนิ ชวี ติ ของคนในสงั คมไทยเปลยี่ นแปลง โดยในสมยั โบราณ
ดนตรไี ทยมบี ทบาทและหนา้ ท่ี เพอื่ ชว่ ยในการผอ่ นคลายและเปน็ อาชพี เลย้ี งตวั เองและครอบครวั เมอื่ หมด
จากอาชพี หลกั คอื เกษตรกรรม แตป่ จั จบุ นั วถิ ชี วี ติ ของคนในสงั คมไทยเปลยี่ นไป เรมิ่ มกี ารประกอบอาชพี
ทหี่ ลากหลาย โดยเฉพาะอาชพี ในภาคอตุ สาหกรรมและภาคบรกิ าร ซง่ึ ทำ� ใหก้ ารทจี่ ะไดม้ ารวมกลมุ่ กนั เพอ่ื
เล่นดนตรีอย่างในสมัยอดีตเปน็ เรือ่ งทีท่ ำ� ไดย้ ากมาก
2. การศึกษาหาความรู้ในแบบเก่าก็เปล่ียนไป ในอดีตการศึกษาดนตรีต้องมาจากคนที่มีจิตใจรัก
ดนตรีอย่างจริงใจ เดิมวิชาชีพดนตรีไทยมีการสืบทอดอยู่ในกลุ่มผู้ปฏิบัติดนตรีไทยสามกลุ่ม คือ กลุ่ม
นกั ดนตรบี า้ น วดั และวงั ดงั นนั้ การเรยี นดนตรขี องสามญั ชนจงึ ตอ้ งเรยี นดนตรดี ว้ ยการขวนขวายเพอื่ ไป
ฝากตวั เปน็ ลกู ศษิ ยท์ บ่ี า้ นของครดู นตรี และตอ้ งทำ� พธิ กี ารฝากเนอ้ื ฝากตวั ดว้ ยขนั ธปู เทยี น ดอกไมฯ้ ตาม
หลักจารีตประเพณี ซ่ึงเป็นการแสดงถึงการมีสัมมาคารวะ และเม่ือได้รับการยอมรับที่จะถ่ายทอดจากครู
แลว้ ใชว่ า่ จะเรม่ิ เรยี นเรมิ่ ฝกึ หดั ไดเ้ ลย จะตอ้ งชว่ ยงานทบี่ า้ นครตู า่ งๆ ไมว่ า่ จะเปน็ งานบา้ นหรอื งานประจำ�
ตามแตค่ รจู ะเรยี กใช้ เปน็ การอบรมบม่ นสิ ยั และฝกึ ความอดทนไปในตวั พอเสรจ็ ถงึ จะสามารถฝกึ หดั ดนตรไี ด้
ดังน้นั คนทีไ่ ม่มจี ิตใจรกั ดนตรีจรงิ ๆ กม็ กั ถอดใจ แต่ในปจั จบุ นั การเรยี นดนตรสี ามารถเรียนไดต้ ัง้ แตร่ ะดบั
ชั้นปฐมวัยจนถงึ ชั้นอดุ มศึกษา ผเู้ รียนไม่ต้องขวนขวายดังแตก่ ่อน บางคนก็ไมไ่ ดอ้ ยากเรยี น ตรงนี้ท�ำให้
การเรียนดนตรีเป็นเรื่องของการโดนบังคับ บางคนเรียนดนตรีเพราะตามกระแสนิยม พอเมื่อกระแสนิยม
จางไปกเ็ ลิกเรยี น เปน็ ต้น
3. การสนใจเพลงสมยั ใหมข่ องเยาวชนไทย ไมใ่ ชว่ า่ เพลงสมยั ใหมไ่ มด่ ี ไมม่ คี วามหมาย แตใ่ นบาง
เพลงถกู สรา้ งขน้ึ มาเพอ่ื ผลประโยชนใ์ นเชงิ ธรุ กจิ ไมไ่ ดส้ รา้ งขน้ึ มาจากการมองเหน็ คณุ คา่ ในการสรา้ งสรรค์
แต่กลายเป็นว่าเป็นเพลงที่ได้รับความนิยมและได้รับการยกย่องอย่างมาก หรือบางคนหันไปนิยมเพลง
ตา่ งชาติ ซ่ึงบางคนฟังแล้วไม่สามารถแปลความหมายได้ แตช่ น่ื ชอบจากนักร้อง และมองวา่ หากคนไหน
ไมเ่ คยฟงั หรอื ไมเ่ คยไดย้ นิ เพลงเหลา่ นก้ี จ็ ะเปน็ คนลา้ สมยั และมองวา่ ถา้ มเี พอ่ื นหรอื ใครมคี วามสนใจดนตรี
ไทยเป็นคนเชย ล้าสมัย ไม่ตามสมัยนิยม ทั้งที่ดนตรีไทยได้ถูกส่ังสมมานานต้ังแต่สมัยบรรพกาล ถูก
ประพนั ธข์ นึ้ ดว้ ยการมองเหน็ คณุ คา่ ความงาม ความตงั้ ใจของผปู้ ระพนั ธ์ บทเพลงตา่ งๆ จงึ มคี วามงดงาม
และทรงคณุ ค่าอยา่ งมากกลับถกู มองข้ามไปอย่างน่าเสยี ดาย
เหลา่ นเ้ี ปน็ สว่ นสำ� คญั อยา่ งมากทส่ี ง่ ผลใหส้ ถานภาพของดนตรไี ทยในปจั จบุ นั กำ� ลงั ถกู ลดบทบาท
ลง ซ่ึงถ้าคนในสังคมไทยไม่ช่วยกันอนุรักษ์อย่างจริงจัง ดนตรีไทยคงต้องสูญหายไปกับสภาพของสังคม
แบบใหมท่ ี่กำ� ลงั พฒั นาอยา่ งไมห่ ยุด
การอนรุ กั ษด์ นตรไี ทย
ดนตรีไทยเป็นผลงานท่ีเกิดข้ึนจากการสั่งสมภูมิปัญญาของบรรพบุรุษไทย ดนตรีไทยจึงมี
คุณสมบัติท่ีเป็นเอกลักษณ์ของชาติ แต่ปัจจุบันด้วยสถานภาพของดนตรีไทยในปัจจุบันตามที่ได้กล่าวไป
แลว้ นน้ั ทำ� ให้หลายภาคส่วนวิตกว่าดนตรไี ทยจะต้องเกดิ การเปลยี่ นแปลงไปจากเดมิ จนอาจไม่หลงเหลอื