Page 15 - ศิลปะกับสังคมไทย
P. 15
ดนตรีกบั สังคมไทย 9-5
เร่ืองที่ 9.1.1
ความเป็นมาของดนตรไี ทย
ดนตรเี ปน็ ศลิ ปะแขนงหนงึ่ ของไทย ไดร้ บั อทิ ธพิ ลมาจากประเทศตา่ งๆ เชน่ อนิ เดยี จนี อนิ โดนเี ซยี
และอ่ืนๆ โดยในสมัยกรุงสุโขทัยมีหลักฐานชัดเจนที่กล่าวถึงดนตรีปรากฏในศิลาจารึกหลักท่ี 1 ไตรภูมิ
พระรว่ ง ศลิ าจารกึ ภเู ขาสมุ นกฎู และศลิ าจารกึ วดั พระยนื (ธดิ า โมสกิ รตั น์ และสริ ชิ ยั ชาญ ฟกั จำ� รญู . 2548:
5) โดยดนตรไี ทยมลี กั ษณะเปน็ การขบั ลำ� นำ� และรอ้ งเลน่ เครอ่ื งดนตรที ใ่ี ชใ้ นสมยั น้ี ไดแ้ ก่ ฆอ้ ง กลอง ฉง่ิ
แฉ่ง (ฉาบ) บัณเฑาะว์ พิณ ซอ ป่ีไฉน ระฆัง กรับ และกังสดาล
สมัยกรุงศรีอยุธยา ดนตรีไทยในสมัยนี้พัฒนาขึ้นจากดนตรีในสมัยอยุธยา โดยเริ่มมีวงปี่พาทย์
เครอ่ื งหา้ ประกอบดว้ ย ป่ี ระนาด ฆอ้ งวง ตะโพน กลองทดั ฉงิ่ ใชบ้ รรเลงในงานพธิ กี รรมทางศาสนา งาน
บุญพิธี และงานแสดงนาฏกรรม เช่น โขน หนังใหญ่ (http://www.oknation.net/blog/thai-
rhythm/2010/04/07/entry-1) นอกจากน้ียังมวี งมโหรีเครือ่ งสี ประกอบดว้ ย ซอสามสาย กระจับปี่ โทน
กรบั พวง และผขู้ บั รอ้ งลำ� นำ� ตอ่ มาไดม้ กี ารเพม่ิ รำ� มะนาและขลยุ่ เขา้ มาเปน็ วงมโหรเี ครอื่ งหก และมกี ารผกู
คำ� กลอนเป็นบทมโหรี ชอื่ เพลงถอยหลังเขา้ คลอง เพลงอังคารสบ่ี ท และยงั มบี ทเพลงท้ังเพลงขับร้องและ
เพลงบรรเลงอกี ดว้ ย
สมัยธนบุรี เป็นช่วงระยะเวลาอันส้ันเพียงแค่ 15 ปี และเป็นสมัยแห่งการก่อร่างสร้างเมือง และ
การป้องกันประเทศ ดังน้ัน ดนตรีไทยในสมัยนี้จึงไม่ปรากฏหลักฐานว่าได้มีการพัฒนาเปล่ียนแปลง
สันนษิ ฐานวา่ ยงั คงเปน็ ลักษณะและรูปแบบของดนตรีไทยในสมยั กรงุ ศรีอยธุ ยา
สมัยรัตนโกสินทร์ ในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก พระองค์ได้ทรงฟื้นฟูดนตรี
ไทยให้เจริญรุ่งเรืองอีกคร้ังภายหลังจากบ้านเมืองเข้าสู่ความสงบ และดนตรีไทยเจริญรุ่งเรืองเพ่ิมมากขึ้น
ในสมยั พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลยั พระองคท์ รงพระปรชี าสามารถในการทรงซอสามสายอยา่ ง
มาก มซี อคู่พระหัตถ์เรียกว่า “ซอสายฟ้าฟาด” (ธ�ำรงศักดิ์ อายุวฒั นะ. 2515: 90) และทรงพระราชนพิ นธ์
เพลงไทย “บุหลนั ลอยเล่อื น” รัชสมยั นย้ี ังเกิดกลองสองหนา้ พัฒนามาจากเปงิ มางของมอญอกี ด้วย
ตอ่ มาในสมยั พระบาทสมเดจ็ พระนงั่ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั แมว้ า่ พระองคจ์ ะไมท่ รงโปรดดนตรมี ากนกั แต่
กม็ ไิ ดห้ า้ มไม่ใหเ้ ลน่ ดนตรีไทย ทำ� ใหเ้ จา้ นายในวังยังคงส่งเสรมิ และอปุ ถัมภ์ดนตรี โดยจะเห็นได้จากยังคง
มีการแสดงดนตรี และการละครภายในวังของเจ้านายแต่ละองค์ แต่ถึงกระนั้นในสมัยนี้ก็ได้มีการพัฒนา
วงปพ่ี าทยเ์ ครอ่ื งคู่ มีการประดิษฐร์ ะนาดท้มุ คกู่ ับระนาดเอก และฆ้องวงเล็กให้คูก่ บั ฆอ้ งวงใหญ่
สมยั พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั วงปพ่ี าทยไ์ ดม้ กี ารพฒั นาขน้ึ เปน็ วงปพ่ี าทยเ์ ครอื่ งใหญ่
เน่ืองจากมีการประดษิ ฐเ์ ครอ่ื งดนตรี เพ่ิมข้นึ 2 ชนิด คือ ระนาดเอกเหล็ก และระนาดทุม้ เหลก็ แล้วนำ� มา
บรรเลงเพม่ิ ในวงปพ่ี าทยเ์ ครอื่ งคู่ ทำ� ใหข้ นาดของวงปพ่ี าทยม์ ขี นาดใหญข่ นึ้ เรยี กวา่ วงปพ่ี าทยเ์ ครอื่ งใหญ่
และต่อมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สมเด็จฯ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ทรง
คิดค้นวงปี่พาทย์ดึกด�ำบรรพ์ข้ึนเพื่อใช้ประกอบการแสดงละครดึกด�ำบรรพ์ ซึ่งดัดแปลงมาจากโอเปร่า