Page 17 - ศิลปะกับสังคมไทย
P. 17

ดนตรีกบั สงั คมไทย 9-7

เปิงมางคอก             ตะโพนมอญ  โหมง่
            ป่ีมอญ

ระนาดเอก    ฉ่งิ ฆอ้ งมอญวงใหญ่

                               ภาพท่ี 9.2 วงป่พี าทย์มอญเครอื่ งห้า

ที่มา: 	http://writer.dek-d.com/lalitida/story/viewlongc.php?id=580707&chapter=6 สบื คน้ เมอื่ วันท่ี 15 มนี าคม 2557.

        ในสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกลา้ เจ้าอยหู่ วั ทรงสนพระทยั ศึกษาด้านดนตรไี ทย พระองคโ์ ปรด
เกลา้ ฯ ใหค้ รดู นตรเี ขา้ ไปถวายการสอนดนตรใี นวงั และพระองคย์ งั ทรงพระปรชี าในดา้ นการเลน่ ดนตรไี ทย
และพระราชนพิ นธเ์ พลงไทยไวถ้ งึ 3 เพลง คอื ราตรปี ระดบั ดาว เขมรลออองคเ์ ถา และโหมโรงคลนื่ กระทบ
ฝั่งสามช้ัน แต่พอหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ไปเป็นระบอบ
การปกครองแบบประชาธปิ ไตยใน พ.ศ. 2475 เขา้ สสู่ มยั พระบาทสมเดจ็ ปรเมนทรมหาอานนั ทมหดิ ล สมยั น้ี
เป็นระยะทีด่ นตรีไทยเข้าสูส่ ภาวะมืดมน เนือ่ งจากรัฐบาลสมัยจอมพล ป. พิบูลสงครามเป็นนายกรฐั มนตรี
ต้องการสรา้ งชาตเิ ปลีย่ นวฒั นธรรม การเปลี่ยนแปลงน้ันรวมถงึ ดนตรีไทยก็ไดร้ ับผลกระทบดว้ ย กล่าวคอื
รัฐบาลไม่ส่งเสริมดนตรีไทย และยังพยายามให้คนไทยหันไปเล่นดนตรสี ากลแบบตะวนั ตก เพราะเห็นว่า
ดนตรไี ทยไมเ่ หมาะสมกบั ชาตทิ กี่ ำ� ลงั พฒั นาใหท้ ดั เทยี มกบั อารยประเทศ จงึ มกี ารหา้ มโดยเครง่ ครดั แตย่ งั
อนุญาตให้บรรเลงในงานพิธีหรือในบางประเพณี แต่จะต้องไปขออนุญาตท่ีกรมศิลปากรหรืออ�ำเภอก่อน
และตอ้ งมบี ัตรนักดนตรีท่ที างราชการออกให้ (http://iedutech.wikispaces.com)

       การดนตรีไทยในสมัยพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั ภมู ิพลอดุลยเดช พระองคท์ รงสนพระทยั ด้าน
การดนตรอี ยา่ งมาก โดยทรงพระราชนพิ นธเ์ พลงไทยสากลและเพลงสากลหลายเพลง เชน่ เพลงแสงเทยี น
ชะตาชีวติ ใกลร้ ุง่ เป็นต้น ขณะเดยี วกันพระองค์ยังทรงสนบั สนนุ ดนตรีไทยอย่างมาก จนในปจั จุบนั สถาน
ศึกษาทั้งระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา และอุดมศึกษา ได้มีการส่งเสริมให้นักเรียนและเยาวชนเล่น
ดนตรไี ทย ขับร้องเพลงไทย และมกี ารจัดตงั้ วงดนตรไี ทยประจ�ำสถาบนั ดว้ ย
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22