Page 22 - ศิลปะกับสังคมไทย
P. 22
9-12 ศิลปะกับสงั คมไทย
เรอ่ื งที่ 9.2.1
ดนตรใี นราชสำ� นักกับสังคมไทย
ประเทศไทยเปน็ ประเทศทมี่ กี ารปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ
ดงั นนั้ จงึ มพี ธิ กี ารตา่ งๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั พระมหากษตั รยิ แ์ ละพระราชวงศส์ บื เนอ่ื งมาตงั้ แตโ่ บราณกาล โดย
ในงานพระราชพิธีต่างๆ ที่เก่ียวข้องกับพระมหากษัตริย์และพระราชวงศ์มักมีดนตรีเกี่ยวข้องอยู่ไม่มากก็
น้อย เนอื่ งมาจากความเช่ือท่ีเก่ียวข้องกบั ดนตรวี ่า เป็นเครอ่ื งมอื ตดิ ตอ่ สอื่ สารกับสิง่ ศกั ดิส์ ทิ ธ์ิ เช่น การตี
ฆอ้ งใหญเ่ พอ่ื ใหด้ งั จนไดย้ นิ ไปถงึ สวรรค์ ฯลฯ ทำ� ใหเ้ หน็ ไดว้ า่ ความเชอ่ื ในสง่ิ ศกั ดสิ์ ทิ ธน์ิ น้ั มคี วามสำ� คญั ในทกุ
กลมุ่ ชน โดยดนตรีในงานพระราชพธิ ีต่างๆ ตง้ั แตค่ รัง้ โบราณยังคงมีทำ� ต่อเน่ืองมาจนถึงปจั จบุ ันนี้
ดนตรีในราชส�ำนักเป็นเคร่ืองมือชนิดหนึ่งท่ีใช้บรรเลงในงานพระราชพิธีต่างๆ เพื่อให้เกิดความ
สมบูรณ์ของพระราชพิธีโดยมีการก�ำหนดบทเพลงต่างๆ ที่ใช้เป็นหลักในพระราชพิธี เม่ือมีการเสด็จ
พระราชด�ำเนินของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถและพระราชวงศ์ ผู้แทน
พระองค์ จะมกี ารบรรเลงเพลงสรรเสรญิ พระบารมี ท้งั เสด็จมาและเสดจ็ กลบั เพลงสรรเสริญพระบารมีจงึ
เปน็ เพลงสำ� คญั ในการเสดจ็ มาถงึ ของพระมหากษตั รยิ ์ พระราชวงศ์ และผแู้ ทนพระองคท์ มี่ อบหมายใหม้ าแทน
ในงานตา่ ง ๆ
ในความเปน็ จรงิ ดนตรใี นราชสำ� นกั มปี รากฏหลกั ฐานมาตง้ั แตก่ อ่ นสมยั สโุ ขทยั โดยเปน็ รปู ปนู ปน้ั
ผูห้ ญิงนั่งพบั เพียบ 5 คน เล่นดนตรี คอื พณิ น้�ำเตา้ พณิ 5 สาย กรบั ฉ่ิง รอ้ ง พบทบี่ รเิ วณวัดโขลง เมือง
คบู วั จังหวดั ราชบรุ ี สนั นิษฐานว่ามีอายุราวหลัง พ.ศ. 1200 หรอื พันกว่าปมี าแล้วหรือสมยั ทวารวดี หลงั
จากนนั้ กม็ กี ารพฒั นารปู แบบของดนตรไี ทยมาเรอื่ ยๆ จนถงึ ปจั จบุ นั (ดงั กลา่ วมาแลว้ ในเรอื่ ง 9.1.1) ซงึ่ การ
บรรเลงดนตรีในราชสำ� นักจะใช้แสดงเพ่ือให้ความเพลิดเพลินของพระมหากษัตรยิ ์และเจา้ นาย