Page 54 - ความรู้ทางสังคมศาสตร์และเทคโนโลยี สำหรับนักนิเทศศาสตร์
P. 54
1-44 ความรู้ทางสังคมศาสตร์และเทคโนโลยีส�ำ หรับนักนเิ ทศศาสตร์
ย่ังยนื ในอนาคต นอกจากน้ียนู ิเซฟยงั รณรงคก์ ับหนว่ ยงานต่างๆ เพ่ือใหม้ กี ฎหมาย นโยบาย และสภาพ
แวดลอ้ มทีเ่ ออื้ ใหเ้ ด็กทกุ คนมโี อกาสพัฒนาและเตบิ โตข้นึ อย่างเต็มศักยภาพ
4.3 องค์การอนามัยโลก (World Health Organization: WHO) การกอ่ ตั้งองคก์ ารอนามยั โลก
ไดร้ เิ รม่ิ ข้นึ จากปญั หาในช่วงต้นศตวรรษท่ี 19 เมอื่ เกดิ อหวิ าตกโรคระบาดในยุโรป สาเหตุจากการเดินทาง
ของชาวมุสลิมจากแอฟริกาเหนือซึ่งเดินทางผ่านยุโรปเพื่อไปแสวงบุญ ณ กรุงเมกกะ ประเทศซาอุดี-
อาระเบีย ทำ� ใหเ้ กดิ โรคระบาดอย่างรุนแรงในยุโรปจนมีผู้คนล้มตายเป็นจำ� นวนมาก ประเทศต่างๆ ไดห้ า
วธิ กี ารปอ้ งกนั โรคระบาดเหลา่ นน้ั ประเทศฝรง่ั เศสไดเ้ รมิ่ จดั ตง้ั สถานอี นามยั ในดนิ แดนตะวนั ออกกลางและ
ได้ร่วมกันต้ังคณะมนตรีทางอนามัยระหว่างประเทศมีการประชุมกันท่ีประเทศตุรกี ในปี ค.ศ. 1907 เพ่ือ
จัดต้ังองค์การสาธารณสุขระหว่างประเทศได้ผลสาเร็จ เพ่ือด�ำเนินการด้านสุขอนามัยระหว่างประเทศ ใน
ระยะเรมิ่ ตน้ ประกอบดว้ ยสมาชกิ 12 ประเทศ มสี านกั งานใหญต่ ง้ั อยทู่ ก่ี รงุ ปารสี ประเทศฝรง่ั เศส ตอ่ มาใน
ช่วงสงครามโลกครัง้ ที่ 2 เกดิ ปัญหาการแพร่ระบาดของเชื้อโรค และปญั หาสุขภาพอนามัยของประชาคม
โลก คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมขององค์การสหประชาชาติจึงได้มีมติจัดตั้ง องค์การอนามัยโลกขึ้น
ในปี ค.ศ. 1948 ประกอบด้วยสมาชิกจ�ำนวนกว่า 150 ประเทศ มีส�ำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ ณ นครเจนีวา
ประเทศสวติ เซอร์แลนด์
ภาพท่ี 1.9 ตราสัญลักษณ์ขององค์การอนามัยโลก
ท่ีมา: http://www.who.int/en/
บทบาทหน้าทีข่ ององคก์ ารอนามยั โลกประกอบด้วย
(1) ด้านโรคภัยไข้เจ็บ ท�ำหน้าที่ควบคุมการแพร่ขยายของเชื้อโรคโดยเฉพาะอย่างยิ่งโรค
ระบาด โดยการก�ำจัด ควบคุมการแพร่ขยายของเชื้อโรค ปรับปรุงสภาวะความเป็นอยู่ที่ไม่เหมาะสมอัน
เปน็ เหตุน�ำมาซึ่งการเกิดโรคระบาด
(2) ด้านการสาธารณสุข มีบทบาทอย่างมากในการช่วยเหลือด้านการสาธารณสุขของ
ประเทศตา่ งๆ โดยเฉพาะประเทศกำ� ลงั พฒั นา เชน่ พฒั นากจิ การของโรงพยาบาล โครงการพนื้ ฟสู มรรถภาพ
ใหแ้ กผ่ ปู้ ว่ ย โดยเฉพาะผู้ป่วยท่เี ปน็ คนพิการ รณรงคเ์ กีย่ วกับปัญหาสุขภาพอนามัยในการประกอบอาชีพ
และก�ำหนดมาตรฐานยาและเคมีภณั ฑ์
(3) ด้านการให้การศึกษา อบรม และเผยแพรค่ วามรู้ดา้ นสุขภาพอนามยั แกบ่ คุ ลากรดา้ น
สาธารณสุขของประเทศสมาชิก รวมท้ังสง่ เสรมิ ให้ความรูด้ า้ นสขุ ภาพอนามยั แก่ประชาชนทว่ั ไป