Page 53 - ความรู้ทางสังคมศาสตร์และเทคโนโลยี สำหรับนักนิเทศศาสตร์
P. 53
แนวคิดเกี่ยวกับระบบสงั คมและสังคมโลก 1-43
ในประเทศไทย ยนู เิ ซฟไดเ้ ปดิ สำ� นกั งานขนึ้ ใน พ.ศ. 2491 โดยในชว่ งแรกเนน้ เรอื่ งสขุ อนามยั และ
โภชนาการของเด็ก มีโครงการท่ีขจัดโรคร้ายในเด็ก เช่น โรคคุดทะราด และช่วยริเร่ิมโครงการฉีดวัคซีน
ป้องกันวัณโรค ในขณะเดียวกันมีการจัดหาน�้ำดื่มสะอาดและรณรงค์เร่ืองสุขอนามัยในท้องถิ่นทุรกันดาร
และพฒั นาการโภชนาการของเดก็ โดยโครงการดม่ื นมในโรงเรยี นและการแจกจา่ ยเกลอื ไอโอดนี ซงึ่ โครงการ
เหล่านน้ั ตอ้ งปฏบิ ัติงานร่วมกบั หนว่ ยงานท้งั ภาครัฐและเอกชนของไทย
ในหลายทศวรรษทผี่ า่ นมาความเปน็ อยขู่ องเดก็ ในประเทศไทยไดเ้ ปลยี่ นไปอยา่ งมาก และภารกจิ
ของยนู เิ ซฟเพม่ิ มากขนึ้ และครอบคลมุ ประเดน็ อนื่ มากขน้ึ ตามสถานการณท์ เี่ ปลยี่ นไป ปจั จบุ นั ภารกจิ หลกั
ของ ยนู ิเซฟ ประเทศไทย คือ
- ปกปอ้ งคมุ้ ครองเดก็ จากการถกู ทำ� รา้ ย การถกู ลว่ งละเมดิ การถกู แสวงประโยชน์ และการ
ถกู ทอดทง้ิ
- ท�ำใหเ้ ด็กทุกคนได้เข้าถึงการศกึ ษาและพัฒนาคุณภาพการศึกษา
- ปอ้ งกนั เดก็ จากการตดิ เชอื้ เอชไวี และใหค้ วามชว่ ยเหลอื เดก็ ทไ่ี ดร้ บั ผลกระทบจากเอชไอ
วแี ละเอดส์
- งานดา้ นสขุ ภาพเดก็ และพฒั นาการของเดก็ เลก็
- สนับสนนุ การศึกษาต่างๆ เพ่ือติดตามตรวจสอบนโยบายสงั คม
- รณรงคใ์ ห้เกิดกฎหมายและนโยบายที่ปกปอ้ งคุ้มครองสิทธเิ ด็ก
- รณรงค์เร่อื งสิทธเิ ด็กในหมสู่ ื่อมวลชน
- ให้ความชว่ ยเหลอื เมอื่ เกดิ เหตกุ ารณ์ฉกุ เฉนิ เช่น น้�ำทว่ มใหญใ่ น พ.ศ. 2554 และสนึ ามิ
- สร้างความตระหนกั เร่อื งไขห้ วัดนก และไขห้ วัดใหญ่ H1N1
ยูนเิ ซฟท�ำงานเพ่ือพทิ ักษส์ ทิ ธเิ ดก็ โดยไม่คำ� นงึ ถึงสัญชาติ เพศ ศาสนา เช้อื ชาติ การศึกษาและ
ฐานะ สทิ ธิดงั กลา่ วประกอบดว้ ย
(1) สิทธิท่ีจะมีชีวิตรอด คือ ได้รับการดูแลด้านสุขภาพอนามัยขั้นพื้นฐาน เสรีภาพ และความ
ปลอดภัย
(2) สทิ ธิที่จะไดร้ ับการพัฒนา คอื มคี รอบครวั ทอี่ บอุ่น ไดร้ บั การศึกษาทีม่ ีคุณภาพ และมีภาวะ
โภชนาการทีเ่ หมาะสม
(3) สทิ ธทิ จ่ี ะไดร้ บั ความคุ้มครอง จากการถูกกระท�ำทารุณ ถกู ล่วงละเมิด ถกู ทอดทง้ิ ถกู นำ� ไป
คา้ ถกู ใช้แรงงาน และถูกแสวงประโยชนใ์ นรูปแบบต่างๆ
(4) สิทธิในการมสี ว่ นร่วม ทจ่ี ะได้แสดงความคิดเหน็ มีผรู้ บั ฟงั และมีส่วนร่วมในการตัดสนิ ใจใน
เรอื่ งตา่ งๆ ที่มีผลกระทบต่อพวกเขา
สิทธิข้ันพื้นฐานต่างๆ เหล่าน้ี บัญญัติอยู่ในอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก (Convention on the
Rights of the Child) ซง่ึ ประเทศไทยเปน็ ภาคีและให้สัตยาบันเมอ่ื ปี พ.ศ. 2535 เพื่อเป็นหลักประกันว่า
เดก็ ทกุ คนจะไดร้ บั สทิ ธเิ หลา่ น้ี โดยยนู เิ ซฟทำ� งานรว่ มกบั ภาครฐั เอกชน องคก์ รพฒั นาเอกชน กลมุ่ เยาวชน
ชุมชนทอ้ งถิ่น และภาคเอกชนเพ่อื ใหแ้ นใ่ จวา่ เดก็ ๆ จะไดร้ ับสทิ ธติ ่างๆ ทีพ่ วกเขาพงึ มี และเน้นการสร้าง
ทกั ษะและมอบโอกาสให้แก่เดก็ เยาวชน และครอบครัว เพอ่ื ใหพ้ วกเขาสามารถช่วยเหลือตวั เองได้อย่าง