Page 48 - ความรู้ทางสังคมศาสตร์และเทคโนโลยี สำหรับนักนิเทศศาสตร์
P. 48

1-38 ความร้ทู างสงั คมศาสตร์และเทคโนโลยสี �ำ หรบั นักนิเทศศาสตร์
       (1) 	การทำ� ใหร้ ะบบเศรษฐกจิ และการเงนิ มเี สถยี รภาพทง้ั ภายในและตา่ งประเทศ (stabilization)

โดยการลดการขาดดุลการช�ำระเงินดุลบัญชีเดินสะพัด และการด�ำเนินการให้เศรษฐกิจขยายตัวในอัตราท่ี
เหมาะสม

       (2) 	การสนบั สนนุ แนวคดิ การเปดิ เสรที างดา้ นการเงนิ และการคา้ ระหวา่ งประเทศ (liberalization)
และ

       (3) 	การผอ่ นคลายกฎระเบยี บทางการคา้
       ประเทศไทยเข้าเป็นสมาชิกล�ำดับท่ี 44 ของ IMF เม่ือวันท่ี 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2492 โดยมี
ธนาคารแหง่ ประเทศไทย (ธปท.) เปน็ ตวั แทนของประเทศไทย รฐั บาลไทยเคยไดร้ บั ความชว่ ยเหลอื ทางการ
เงินจาก IMF ภายใต้โครงการเงินกู้ Stand-by ซ่ึงเป็นโครงการเงินกู้เพ่ือช่วยเหลือประเทศสมาชิกท่ี
ประสบปญั หาดลุ การชำ� ระเงนิ ระยะสน้ั และเปน็ โครงการเงนิ กทู้ ปี่ ระเทศสมาชกิ เขา้ รว่ มมากทส่ี ดุ โดยมรี ะยะ
เวลาการก้ยู มื 1-2 ปี และระยะเวลาช�ำระคืนประมาณ 2-4 ปี ไทยได้เคยก้มู าแล้วรวม 5 ครัง้ (ปี พ.ศ.
2521, 2524, 2525, 2528 และ 2540) และในครงั้ สุดทา้ ย ปี พ.ศ. 2540 ไทยได้ชำ� ระคืนเงนิ กจู้ าก IMF
เสรจ็ สิ้นเม่อื เดอื นกรกฎาคม พ.ศ. 2546 ท�ำใหป้ จั จุบันไทยไม่มีภาระคงคา้ งกบั กองทนุ การเงนิ ฯ (http://
www.bot.or.th/Thai/AboutBOT/index/Pages/IMF_index.aspx)
       3.3 	ธนาคารโลก (World Bank) ธนาคารโลกหรือธนาคารระหว่างประเทศเพื่อการฟื้นฟูบูรณะ
และการพฒั นา (International Bank for Reconstruction and Development: IBRD) เปน็ องค์การ
ระหว่างประเทศที่จัดตั้งหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยประเทศมหาอ�ำนาจในทวีปอเมริกาเหนือและทวีป
ยโุ รป เมอ่ื วนั ท่ี 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2487 จากการประชมุ นานาชาติ ณ เมอื งบรติ ตนั วดู ส์ (Bretton Woods)
รฐั นิวแฮมเชยี ร์ ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยมี 44 ประเทศเข้ารว่ มในระยะเร่ิมก่อตง้ั มสี ำ� นักงานใหญ่ต้ังอยู่
ณ กรงุ วองชงิ ตนั ดีซี สหรัฐอเมริกา
       ธนาคารโลกอ่ ตงั้ ขน้ึ มาพรอ้ มๆ กบั กองทนุ การเงนิ ระหวา่ งประเทศ (IMF) ในระยะแรกมกี ารแบง่
หนา้ ทข่ี องสององคก์ ารนอี้ ยา่ งชดั เจน ในขณะทก่ี องทนุ การเงนิ ระหวา่ งประเทศทำ� หนา้ ทใี่ หเ้ งนิ กแู้ กป่ ระเทศ
ที่มีปัญหาดุลการช�ำระเงิน เป็นการแก้ปัญหาระยะส้ัน ส่วนธนาคารโลกจะสนับสนุนการพัฒนาระยะกลาง
และระยะยาวในรปู แบบเงนิ กยู้ มื สำ� หรบั โครงการพฒั นาประเทศทเี่ นน้ เฉพาะเปน็ โครงการๆ ไป แตเ่ มอื่ เวลา
ผา่ นไปในช่วงทีโ่ ลกเกดิ วกิ ฤตการณ์การเงินในระหวา่ งช่วงทศวรรษที่ ค.ศ. 1970 ถงึ 1980 ธนาคารโลกก็
เรม่ิ ปลอ่ ยเงนิ กรู้ ะยะสนั้ เพอื่ การปรบั ปรงุ เชงิ โครงสรา้ งโดยประสานกบั กองทนุ การเงนิ ระหวา่ งประเทศดว้ ย
เช่นกัน
       ลกั ษณะโครงสรา้ งในระดบั สถาบนั ของธนาคารโลก ประกอบไปดว้ ยองคก์ ร 2 องคก์ ร คอื ธนาคาร
ระหว่างประเทศเพื่อการฟื้นฟูบูรณะและการพัฒนา (IBRD) และสมาคมการพัฒนาระหว่างประเทศ
(International Development Association: IDA) นอกจากนี้ยังมีองค์การร่วมในสังกัดอีกสามแห่ง
ประกอบด้วย บรรษัทเงินทุนระหว่างประเทศ (International Finance Corporation: IFC) สถาบัน
ประกันการลงทุนแบบพหุภาคี (The Multilateral Investment Guarantee Agency: MIGA) และ
ศนู ยก์ ลางระหวา่ งประเทศเพอ่ื ยตุ ขิ อ้ พพิ าทในการลงทนุ (The International Centre for Settlement of
Investment Disputes: ICSID) ซงึ่ ทงั้ 5 องคก์ รรวมกนั เรยี กวา่ กลมุ่ ธนาคารโลก (World Bank Group)
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53