Page 44 - ความรู้ทางสังคมศาสตร์และเทคโนโลยี สำหรับนักนิเทศศาสตร์
P. 44

1-34 ความรู้ทางสงั คมศาสตร์และเทคโนโลยสี �ำ หรบั นักนเิ ทศศาสตร์
                 - นำ� เสนอเรอื่ งใดๆ ตามความเหน็ ของเลขาธกิ ารสหประชาชาตเิ หน็ วา่ คกุ คามตอ่ การ

ธำ� รงไวซ้ ึ่งสนั ติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ เสนอใหค้ ณะมนตรีความมน่ั คงทราบ
                 - รับผดิ ชอบเร่ืองการลงทะเบียนและการพิมพ์สนธสิ ญั ญาทที่ ำ� กันระหวา่ งรัฐสมาชิก
                 - จดั ทำ� รายงานประจ�ำปเี กีย่ วกับสหประชาชาติเสนอต่อสมชั ชาฯ องค์การต่างๆ

       องค์การหลกั เหล่านม้ี สี �ำนกั งานอย่ทู นี่ ครนวิ ยอรก์ ยกเวน้ ศาลยตุ ธิ รรมระหว่างประเทศซงึ่ ตัง้ อยู่ท่ี
กรงุ เฮก ประเทศเนเธอรแ์ ลนด์ นอกจากนี้ ยงั มที บวงการชำ� นญั พเิ ศษ (specialized agencies) อกี จำ� นวน
16 องค์กร ซึ่งเป็นองค์การอิสระและปฏิบัติงานเฉพาะสาขา ผูกพันกับสหประชาชาติตามข้อตกลงพิเศษ
(เชน่ องคก์ ารอนามัยโลก ยเู นสโก องคก์ ารการคา้ โลก เปน็ ตน้ ) ประกอบดว้ ยประเทศสมาชิก ทง้ั ทเ่ี ป็น
และไม่เปน็ สมาชิกของสหประชาชาติ โดยมีคณะมนตรีเศรษฐกจิ และสงั คม กบั สมชั ชาสหประชาชาติเปน็
ตวั ประสานงาน

       ประเทศไทยได้สมคั รเขา้ เปน็ สมาชิกสหประชาชาติตงั้ แตว่ ันท่ี 3 สิงหาคม พ.ศ. 2489 และได้รับ
ความเห็นชอบเม่ือวันท่ี 12 ธันวาคม ปีเดียวกัน สาเหตุท่ีไทยต้องการเข้าเป็นสมาชิกสหประชาชาตินั้น
ก็เพอื่ ความมั่นคงของประเทศ เพื่อให้โลกยืนยันรบั รองฐานะความเปน็ เอกราชของประเทศไทย นอกจาก
นไ้ี ทยยงั หวงั ความชว่ ยเหลอื จากสหประชาชาตใิ นดา้ นเศรษฐกจิ สงั คม และวฒั นธรรม รวมทงั้ แสดงใหโ้ ลก
เห็นว่าไทยมีความปรารถนาอย่างจริงจังในการให้ความร่วมมือเพ่ือสร้างสันติภาพและความม่ันคงระหว่าง
ประเทศ

3. 	 องค์การระหว่างประเทศด้านเศรษฐกิจ

       การเปลยี่ นแปลงของเศรษฐกจิ โลกเขา้ สยู่ คุ โลกาภวิ ตั น์ ทำ� ใหโ้ ครงสรา้ งเศรษฐกจิ และแนวทางการ
ด�ำเนินธุรกิจแบบเดิมเปล่ียนแปลง จากเศรษฐกิจอุตสาหกรรมไปสู่เศรษฐกิจบริการมากข้ึน ความเจริญ
อย่างรวดเร็วทางด้านเทคโนโลยีและการสอ่ื สาร สง่ ผลใหก้ ารแขง่ ขันในดา้ นการคา้ ระหวา่ งประเทศมคี วาม
รนุ แรงมากขน้ึ องคก์ ารระหวา่ งประเทศทางดา้ นเศรษฐกจิ จงึ มบี ทบาทและอทิ ธพิ ลในการกำ� หนดนโยบาย
ดา้ นเศรษฐกจิ ของสงั คมโลก ดูแลใหป้ ระเทศสมาชิกปฏิบตั ติ ามกตกิ าของสังคมโลก ผลักดนั ให้ใชน้ โยบาย
เศรษฐกจิ เสรนี ยิ ม สง่ เสรมิ เอกชนใหม้ บี ทบาททางเศรษฐกจิ องคก์ ารระหวา่ งประเทศดา้ นเศรษฐกจิ ทสี่ ำ� คญั
มหี ลายองคก์ ารแตใ่ นทน่ี ี้จะได้กล่าวถงึ องคก์ ารการคา้ โลก กองทนุ การเงินระหว่างประเทศ ธนาคารโลก
และสหภาพโทรคมนาคมระหวา่ งประเทศ ดังรายละเอยี ดตอ่ ไปน้ี

       3.1 	องค์การการค้าโลก (World Trade Organization: WTO) องคก์ ารระหวา่ งประเทศทพ่ี ฒั นา
มาจากการเจรจาการค้าพหุภาคีรอบอุรุกวัย ภายใต้การประชุมของความตกลงท่ัวไปว่าด้วยภาษีศุลกากร
และการค้า หรือเรียกส้ันๆ ว่า แกตต์ (General Agreement on Tariffs and Trade: GATT) เม่ือ
ปี พ.ศ. 2490 ซึ่งขณะนัน้ ยังไม่มสี ถานะเปน็ องค์การ จนกระทั่งการเจรจาการคา้ รอบอรุ กุ วัยสิ้นสุดลง และ
ผลการเจรจาส่วนหนึ่งคือ การก่อต้ัง WTO ข้ึนเมื่อวันท่ี 1 มกราคม พ.ศ. 2538 มีสมาชิกเร่ิมแรก 81
ประเทศ ปัจจุบันมีสมาชิกอย่างเป็นทางการทั้งสิ้น 151 ประเทศ และมีส�ำนักงานใหญ่ต้ังอยู่ท่ีนครเจนีวา
ประเทศ สวติ เซอรแ์ ลนด์ (ขอ้ มลู ณ ปี พ.ศ. 2550 ของกระทรวงการตา่ งประเทศ จาก http://www.mfa.
go.th/main/th/world/7/19901-(World-Trade-Organization:-WTO).html)
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49