Page 40 - ความรู้ทางสังคมศาสตร์และเทคโนโลยี สำหรับนักนิเทศศาสตร์
P. 40

1-30 ความรทู้ างสงั คมศาสตร์และเทคโนโลยีส�ำ หรับนักนิเทศศาสตร์
       ส่วนใหญ่รายได้ขององค์การระหว่างประเทศได้มาจากการบริจาคของประเทศสมาชิกเพื่อใช้เป็น

งบประมาณในการด�ำเนินงาน โดยใช้หลักความเสมอภาคตามส่วนโดยคิดเทียบจากรายได้ต่อหัวของ
ประเทศสมาชิก แหล่งรายได้อื่นอาจจะมาจากการได้รับเงินบริจาค หรือมรดกตกทอด หรือเงินท่ียืมจาก
ประเทศสมาชกิ หรือรายได้จากการขายสิง่ ตพี มิ พท์ ั้งหลายขององค์การระหว่างประเทศ

1. 	 การจัดกลุ่มองค์การระหว่างประเทศ

       หากจะจัดประเภทองค์การระหว่างประเทศสามารถท�ำได้ในหลายลักษณะขึ้นอยู่กับแนวทางหรือ
หลกั เกณฑท์ ใี่ ช้ในการจัดแบง่ ประเภท ดงั น้ี

       1.1 	การใช้วัตถุประสงค์เป็นเกณฑ์ ในสนธสิ ญั ญากอ่ ตง้ั องคก์ ารระหวา่ งประเทศจะระบถุ งึ อำ� นาจ
และวัตถปุ ระสงค์ขององคก์ ารระหว่างประเทศ ถา้ หากมวี ัตถุประสงคห์ ลายประการจะเรียกกนั วา่ องคก์ าร
ระหวา่ งประเทศทมี่ ภี ารกจิ ทว่ั ไป (เชน่ องคก์ ารสหประชาชาติ สหภาพยโุ รป) และถา้ มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ ฉพาะ
เจาะจงก็จะเรียกกันว่า องค์การระหว่างประเทศที่มีวัตถุประสงค์เฉพาะอย่างหรือจ�ำกัด (เช่น องค์การ
แรงงานระหว่างประเทศ องค์การอนามยั โลก สหภาพโทรคมนาคมระหวา่ งประเทศ)

       1.2		การใช้ภูมิศาสตร์เป็นเกณฑ์ เป็นการแบ่งตามลักษณะของการรวมกลุ่มโดยยึดเขตพ้ืนท่ีของ
สมาชิกเป็นเกณฑ์ มี 2 ระดับ คือ องค์การระดับโลกหรือระดับสากลเป็นองค์การท่ีมีสมาชิกมาจากเขต
พน้ื ทท่ี ั่วโลก เชน่ องคก์ ารสหประชาชาติ สหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ เปน็ ต้น และระดับทส่ี อง
คือองค์การระดับภูมิภาค ซึ่งยึดหลักเข้ามารวมกันตามข้อผูกพันทางภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจ สังคม และ
วฒั นธรรม ซง่ี สมาชกิ จะรวมกล่มุ อยู่ในภมู ิภาคน้ันๆ เชน่ องคก์ ารอาเซียน (ASEAN) เปน็ การรวมกลมุ่
ประเทศในเขตพน้ื ทเี่ อเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ หรอื สหภาพยุโรป (European Union: EU) ท่เี ป็นการรวม
กลมุ่ ประเทศในเขตภาคพน้ื ยโุ รป เป็นตน้ องค์การระดบั ภมู ิภาคโดยส่วนใหญ่เป็นองค์การปดิ คอื จะจ�ำกดั
สมาชิกเฉพาะที่เป็นรัฐในภูมิภาคหรืออนุภูมิภาคน้ันๆ แต่ก็มีองค์การระดับภูมิภาคหรืออนุภูมิภาคบาง
องค์การท่เี ปดิ รบั สมาชกิ จากนอกภมู ิภาค

       1.3 การใช้ภารกิจเป็นเกณฑ์ ซึ่งจะแบ่งตามภารกิจหลักด้านต่างๆ ประกอบด้วย องค์การด้าน
การเมอื งและความมัน่ คง องคก์ ารด้านเศรษฐกจิ และองคก์ ารดา้ นสังคม ซึ่งในเรอ่ื งท่ี 1.2.2 นจ้ี ะได้อธบิ าย
ถงึ องคก์ ารระหวา่ งประเทศทสี่ ำ� คญั ของโลกโดยใชแ้ นวทางนเ้ี ปน็ หลกั อยา่ งไรกต็ ามองคก์ ารระหวา่ งประเทศ
มีจำ� นวนมากทงั้ ที่เปน็ ความรว่ มมือระหวา่ งรฐั และระหว่างเอกชนซึง่ ไมอ่ าจกล่าวถงึ ไดท้ ้งั หมดในที่น้ี จึงได้
คดั เลอื กเฉพาะองคก์ ารระดบั โลกและระดบั ภมู ภิ าคทมี่ บี ทบาทสำ� คญั ในดา้ นการเมอื ง ความมน่ั คง เศรษฐกจิ
และสังคม รวมทัง้ เปน็ องค์การทีป่ ระเทศไทยได้มีสว่ นเก่ยี วขอ้ งเป็นสมาชิก

2. 	 องค์การระหว่างประเทศทางด้านการเมืองและความม่ันคง

       องค์การระหว่างประเทศนี้มุ่งเน้นบทบาทเพื่อรักษาสันติภาพและประสานความสัมพันธ์ระหว่าง
ประเทศ ให้เกดิ ความมน่ั คงระหวา่ งประเทศทั่วโลก ตัวอยา่ งบทบาทส�ำคัญไดแ้ ก่ สง่ เสริมใหเ้ กดิ สันตภิ าพ
และรกั ษาความมน่ั คงร่วมกัน ยุตกิ รณีพพิ าทด้วยสันตวิ ธิ ี โดยวธิ กี ารทางการทูต การไกล่เกลี่ย การเจรจา
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45