Page 39 - ความรู้ทางสังคมศาสตร์และเทคโนโลยี สำหรับนักนิเทศศาสตร์
P. 39
แนวคิดเกีย่ วกบั ระบบสงั คมและสงั คมโลก 1-29
แนวตอบกิจกรรม 1.2.1
1. สงั คมโลกมวี วิ ฒั นาการทสี่ ามารถแบง่ ออกเปน็ 4 ยคุ ไดแ้ ก่ สงั คมยคุ โบราณ สงั คมเกษตรกรรม
สังคมอตุ สาหกรรมและสังคมฐานความรู้
2. โลกาภิวัตน์เป็นปรากฏการณ์ของกระบวนการการเปลี่ยนแปลงในสังคมโลก ท่ีท�ำให้ผู้คนใน
โลกสามารถเช่ือมโยงถึงกันอย่างไร้พรมแดน อุปสรรคที่กั้นขวางปฏิสัมพันธ์ระหว่างสังคมท้ังในทาง
เศรษฐกจิ สงั คม การเมอื ง และวฒั นธรรมลดนอ้ ยลง เกดิ การถา่ ยโอน เคลอื่ นยา้ ยสนิ คา้ บรกิ าร ทนุ แรงงาน
ความรู้ ข้อมูลข่าวสาร จากแหล่งหนึ่งไปยังอีกแหล่งหนึ่งอย่างรวดเร็ว ส่ิงที่เกิดขึ้น ณ จุดใดจุดหนึ่งของ
โลกสามารถขยายอทิ ธพิ ลไปยงั สว่ นอน่ื ๆ ของโลกอยา่ งรวดเรว็ และกวา้ งขวาง โลกาภวิ ตั นไ์ ดส้ ลายขอ้ จำ� กดั
ด้านมติ เิ วลาและพื้นท่ที ำ� ให้โลกถูกย่อส่วนกลายเปน็ หมู่บา้ นเล็กๆ
เร่ืองท่ี 1.2.2
องค์การส�ำคัญในสังคมโลก
องคก์ ารระหวา่ งประเทศเกิดขึ้นโดยประเทศหรือรฐั ต่างๆ ทว่ั โลกต้ังแต่สองรัฐข้นึ ไปรวมกนั จดั ตั้ง
ขน้ึ เพอ่ื เปน็ กลไกอยา่ งหนงึ่ ในการดำ� เนนิ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งประเทศ เปน็ สถาบนั ทป่ี ระสานผลประโยชน์
ระหวา่ งรฐั และวางกฎเกณฑก์ ารปฏบิ ตั ริ ะหวา่ งรฐั สมาชกิ เพอื่ ผลประโยชนร์ ว่ มกนั จงึ มบี ทบาทชว่ ยใหเ้ กดิ
ความรว่ มมอื ระหวา่ งรฐั และพฒั นากจิ กรรมตา่ งๆ เพอ่ื ประโยชนท์ างเศรษฐกจิ และสงั คมของรฐั สมาชกิ และ
มวลมนุษยชาติ
ด้วยเหตุที่องค์การระหว่างประเทศมีจุดก�ำเนิดมาจากสนธิสัญญาระหว่างรัฐ ซ่ึงก็คือกฎหมาย
ระหว่างประเทศเพราะฉะน้ันองค์การระหว่างประเทศจะเกิดขึ้นได้ก็โดยกฎหมายระหว่างประเทศ และ
องค์การระหว่างประเทศองค์การแรกคือ คณะกรรมการกลางว่าด้วยการเดินเรือในแม่น�้ำไรน์ (Central
Commission for Navigation on the Rhine) ในปี ค.ศ. 1815
หากมกี ารท�ำสนธสิ ัญญาระหวา่ งประเทศเพอื่ ก่อต้งั องค์การระหว่างประเทศขึ้น สนธิสัญญาที่เปน็
ความรว่ มมอื มากกวา่ สองประเทศกอ็ าจเรยี กวา่ สนธสิ ญั ญาพหภุ าคี ซง่ึ บางครงั้ กม็ ชี อื่ เรยี กเฉพาะ เชน่ กตกิ า
สนั นบิ าตชาติ กฎบตั รสหประชาชาติ ธรรมนญู คณะมนตรยี โุ รป ซง่ึ ความจรงิ กค็ อื ความตกลงกอ่ ตง้ั องคก์ าร
ระหว่างประเทศ สนธิสัญญาก่อต้ังองค์การระหว่างประเทศมีลักษณะเป็นธรรมนูญ ซ่ึงมีผลบังคับต่อรัฐ
การเปล่ียนแปลงความตกลงก่อต้ังองค์การระหว่างประเทศก็มีผลบังคับต่อรัฐสมาชิกทุกรัฐ ถ้าสมาชิก
ไมช่ อบสนธสิ ญั ญาทม่ี กี ารปรบั ปรงุ เปลย่ี นแปลง และไมต่ อ้ งการปฏบิ ตั ติ าม กจ็ ำ� เปน็ ตอ้ งลาออกจากองคก์ าร
ระหว่างประเทศนนั้ ๆ