Page 36 - ความรู้ทางสังคมศาสตร์และเทคโนโลยี สำหรับนักนิเทศศาสตร์
P. 36

1-26 ความรทู้ างสงั คมศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีส�ำ หรบั นกั นิเทศศาสตร์
ซับซ้อนข้ึน น�ำไปสู่การเปล่ียนแปลงธรรมชาติของชีวิตของผู้คนในสังคมและสถาบันทางสังคมท้ังด้าน
คุณภาพและดา้ นปรมิ าณ

       4. 	ยุคสังคมฐานความรู้ (Knowledge-based society) หรือสังคมความรู้ เป็นสงั คมยุคปัจจบุ นั
ที่เราเผชิญอยู่ กล่าวคือการผลิตสินค้าและบริการมีประสิทธิภาพสูงข้ึน ด้วยเทคโนโลยีที่ก้าวหน้าจาก
มันสมองของมนุษย์ สินค้าจากโรงงานอุตสาหกรรมไม่ใช่เป้าหมายหลักอีกต่อไป เน่ืองจากสังคมยุคหลัง
อุตสาหกรรมให้ความส�ำคัญกับสินค้าท่ีจับต้องไม่ได้ โดยเฉพาะข่าวสารความรู้ บางต�ำราจึงอาจจัดสังคม
ยคุ นเ้ี ป็นยคุ หลังอตุ สาหกรรม (Postindustrial society)

       นักศึกษาอาจพบว่าในบางต�ำราอาจแบ่งวิวัฒนาการของสังคมโลกละเอียดมากกว่าท่ีได้กล่าวมา
โดยแบง่ ออกเปน็ หกยุค เช่น สงั คมล่าสัตว์และเก็บของปา่ สังคมล่าสัตว์เพือ่ การยงั ชีพ สงั คมกสกิ รรมพืช
สวน สงั คมเกษตรกรรม สังคมอตุ สาหกรรม และสงั คมหลังอุตสาหกรรม (Nolan & Lenki, 1999 อา้ งใน
ศริ ริ ัตน์ แอดสกลุ , 2555) เปน็ ต้น

       นอกจากนใ้ี นหนงั สอื The Third Wave หรอื คลนื่ ลกู ทสี่ าม ทเ่ี ขยี นโดย อลั วนิ ทอฟเลอร์ (Alvin
Toffler) นักวิชาการด้านอนาคตศาสตร์ (Futurology) ชาวอเมริกันผู้มีช่ือเสียง ได้เปรียบเทียบการ
เปล่ียนแปลงของอารยธรรมโลกเหมือนคล่ืนสามลูกซึ่งซ้อนทับกันประกอบด้วย คลื่นลูกที่หนึ่ง ได้แก่
ยคุ เกษตรกรรม คลน่ื ลกู ทสี่ องไดแ้ ก่ ยคุ สงั คมอตุ สาหกรรม และคลนื่ ลกู สามไดแ้ ก่ ยคุ สงั คมเทคโนโลยี ดงั น้ี

       คลื่นลูกท่ีหน่ึง (The First Wave) เกดิ ขน้ึ ราว 8,000 ปีก่อนครสิ ตกาล เมื่อมนษุ ย์รู้จักการรวม
กลุ่มทางสังคมอยู่รวมกันเป็นหลักแหล่ง มีการเปลี่ยนกิจกรรมการผลิตทางการเกษตรจากแบบเลื่อนลอย
มาเป็นแบบที่มีถ่ินฐานถาวร มีการปรับปรุงและพัฒนาท่ีดินเพื่อการผลิต รู้จักการเล้ียงสัตว์ควบคู่กับการ
ผลิตทางการเกษตร เครอื่ งช้วี ัดความเจริญก้าวหนา้ ของสงั คมในยุคดงั กล่าวคือ การเป็นเจ้าของอาณาเขต
ใหญโ่ ตกวา้ งขวางเพอ่ื ท�ำการเลยี้ งสตั ว์และท�ำการเกษตรจ�ำนวนมาก ทำ� ใหส้ งั คมโลกเกดิ การเปลย่ี นแปลง
ทงั้ ดา้ นเศรษฐกจิ สงั คมและการเมอื ง โดยชมุ ชนแตล่ ะแหง่ ผลติ เพอ่ื การยงั ชพี อาจจะมแี ลกเปลย่ี นผลผลติ
กนั บา้ งหากผลผลติ เหลือเกนิ ใช้สอย เรมิ่ รจู้ กั การพฒั นาเทคโนโลยบี างประเภท เชน่ การทดน้�ำเพอ่ื ท�ำการ
เกษตร การสรา้ งเกวยี นบรรทกุ ของ มกี ารเกดิ ขนึ้ ของศาสนาและกลมุ่ ความเชอื่ ตา่ งๆ รปู แบบการปกครอง
เปน็ แบบอ�ำนาจนยิ มแบบเบด็ เสรจ็ โดยอ�ำนาจท้ังหมดอย่ทู ี่เจา้ ผปู้ กครอง

       คลื่นลูกที่สอง (The Second Wave) เร่ิมข้ึนในช่วงประมาณคริสต์ศตวรรษที่ 15-16 ซ่ึงเป็น
ยุคแห่งการฟื้นฟูศิลปวิทยาการ มีการน�ำเอาความรู้และศิลปะสมัยกรีกและโรมันกลับมาบูรณะอีกคร้ังและ
ต่อยอดความคิดจนสามารถสร้างองค์ความรู้ใหม่ๆ ขึ้นเป็นอันมาก ลักษณะเด่นในสังคมช่วงดังกล่าวคือ
การปฏวิ ตั วิ ทิ ยาศาสตรแ์ ละการปฏวิ ตั อิ ตุ สาหกรรมซง่ึ เกดิ ขนึ้ ในชว่ งปลายศตวรรษที่ 18 ถงึ ปลายศตวรรษ
ท่ี 19 ที่ประเทศอังกฤษ ในคล่นื ลกู ทส่ี องนส้ี ังคมมนุษยม์ ีเป้าหมายหลักของการผลติ เพือ่ แลกเปลย่ี นแทนท่ี
จะผลติ เพอ่ื ใชเ้ องเหมอื นในยคุ คลนื่ ลกู ทหี่ นง่ึ และในยคุ นต้ี วั ชว้ี ดั ความยง่ิ ใหญแ่ ละความมงั่ คงั่ ของสงั คมคอื
ความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติ และทุน ในขณะเดียวกันก็มีการเปล่ียนแปลงทางการเมืองท่ี
เกดิ ข้นึ คือชนชนั้ กลางเขา้ มามีอ�ำนาจทางการเมอื งแทนชนช้นั ขุนนาง และกลุ่มชนชั้นลา่ งเร่ิมรวมกลุ่มกนั
เพื่อเพ่ิมอ�ำนาจการต่อรองกับชนชั้นนายทุนท�ำให้เกิดความขัดแย้งกันบ่อยคร้ัง นอกจากนี้ในยุคคล่ืนลูกที่
สองยังเกิดปรากฏการณ์ทางสังคมโลกที่ส�ำคัญคือการเกิดสงครามโลกสองครั้ง โดยสาเหตุส�ำคัญที่ท�ำให้
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41