Page 37 - ความรู้ทางสังคมศาสตร์และเทคโนโลยี สำหรับนักนิเทศศาสตร์
P. 37

แนวคิดเกยี่ วกับระบบสังคมและสังคมโลก 1-27
เกดิ สงครามโลกครงั้ ที่สองกค็ ือ ลทั ธชิ าตินิยม ลัทธจิ กั รวรรดินิยม การแบ่งฝกั แบ่งฝ่าย ความออ่ นแอของ
สันนิบาตชาติ และภาวะเศรษฐกิจท่ีตกต�่ำ  ตลอดจนการเอารัดเอาเปรียบของประเทศผู้ชนะสงครามต่อ
ผู้แพ้สงคราม น�ำไปสู่การเกิดองค์การระหว่างประเทศในด้านต่างๆ ที่น�ำไปสู่การพัฒนา การสร้างความ
รว่ มมือ การปกปอ้ งและส่งเสริมสงั คมในดา้ นตา่ งๆ ทห่ี ลากหลาย

       คลื่นลูกท่ีสาม (The Third Wave) เกดิ ขน้ึ ราวปลายศตวรรษท่ี 20 โดยมเี ครอ่ื งชวี้ ดั ความยง่ิ ใหญ่
และความมง่ั คง่ั ของสงั คมในยคุ นค้ี อื ความเจรญิ กา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยขี องประเทศและอำ� นาจในการเขา้ ถงึ
และการใช้ประโยชน์จากข้อมูลข่าวสารเป็นส�ำคัญ เนื่องจากความก้าวหน้าของเทคโนโลยีขั้นสูง และการ
แพร่กระจายและเขา้ ถงึ ขอ้ มูลสารสนเทศ เหลา่ น้ีส่งผลตอ่ สภาพสงั คมของประเทศตา่ งๆ เชน่ เกิดการปรบั
เปล่ยี นโครงสร้างในภาคการผลติ ของประเทศโดยน�ำเอาเทคโนโลยขี ้ันสงู มาใชใ้ นกระบวนการผลติ มากขนึ้
และโครงสรา้ งเศรษฐกจิ เรม่ิ ปรบั ตวั ไปสเู่ ศรษฐกจิ บนพนื้ ฐานความรู้ ผมู้ อี ำ� นาจคอื ผทู้ เ่ี ขา้ ถงึ และยดึ กมุ ขอ้ มลู
ความรู้ ชอ่ งวา่ งทางสงั คมถา่ งกวา้ งขนึ้ เกดิ ความคลา้ ยคลงึ กนั ทางวฒั นธรรมของหลายประเทศโดยเฉพาะ
อย่างย่ิงวัฒนธรรมในสังคมเมือง ท�ำให้เกิดการครอบง�ำทางวัฒนธรรม ความโปร่งใสทางการเมืองจะถูก
คาดหวงั มากขนึ้ และเกดิ การเคลอื่ นเขา้ สปู่ ระชาธปิ ไตยแบบทางตรงมากขนึ้ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ การรวมตวั กนั
ของประชาสงั คม

       อย่างไรก็ตามทอฟเลอร์ย�้ำว่าในสังคมโลกนั้นไม่สามารถแยกคล่ืนแต่ละลูกออกจากกันได้อย่าง
เบ็ดเสร็จเด็ดขาด เน่ืองจากคลื่นท่ีสามลูกน้ีมีความซ้อนทับเหล่ือมกันอยู่ โดยสภาพสังคมบางส่วนในบาง
ประเทศยงั คงอยใู่ นคลน่ื ลกู ทหี่ นง่ึ ขณะทบี่ างสว่ นไดเ้ ปลยี่ นผา่ นสคู่ ลน่ื ลกู ทส่ี องแลว้ หรอื บางสว่ นอาจกำ� ลงั
กา้ วเขา้ ส่คู ลนื่ ลกู ทีส่ าม เพียงแต่วา่ แตล่ ะประเทศจะมอี งคป์ ระกอบของคลื่นลกู ใดทเ่ี ด่นชัด แนวโน้มสภาพ
สังคมของประเทศน้ันจะเป็นไปตามลักษณะของคล่ืนลูกดังกล่าว จะสังเกตเห็นได้ว่า ทอฟเลอร์แบ่ง
วิวัฒนาการของสงั คมออกเปน็ สามยคุ โดยไมน่ บั สังคมยุคโบราณ

       ระหว่างท่ีสังคมโลกมีวิวัฒนาการจากอดีตสู่ปัจจุบันได้เกิดปรากฏการณ์ส�ำคัญในโลกขึ้นมากมาย
อาทิ การปฏิวัติอุตสาหกรรมท่ีน�ำไปสู่การเปลี่ยนแปลงสังคมจากเกษตรกรรมหรือกสิกรรมเป็นสังคม
อุตสาหกรรม ความขัดแย้งกันด้านลัทธิการเมืองการปกครองจนน�ำไปสู่สงครามโลก ภาวะสงครามเย็นที่
ฝา่ ยประชาธปิ ไตยทน่ี ำ� โดยสหรฐั อเมรกิ าและยโุ รปตะวนั ตกเผชญิ หนา้ กบั ฝา่ ยคอมมวิ นสิ ตซ์ งึ่ นำ� โดยโซเวยี ต
รัฐเซีย จนกระทั่งช่วงส้ินสุดยุคสงครามเย็นภายหลังการล้มสลายของลัทธิคอมมิวนิสต์ในรัสเซีย ฯลฯ
ปรากฏการณ์เหล่านี้ไม่อาจน�ำมากล่าวถึงได้ทั้งหมดในที่นี้ แต่ปรากฏการณ์ส�ำคัญซ่ึงส่งผลต่อสังคมโลก
ทกุ วนั นซี้ งึ่ จะไดก้ ลา่ วถงึ ในทน่ี ก้ี ค็ อื โลกาภวิ ตั น์ (Globalization) ซงึ่ เปน็ ปรากฏการณท์ เี่ กดิ ขน้ึ มานานแลว้
แต่ไม่มียุคใดทีส่ งั คมโลกได้รับผลกระทบจากโลกาภวิ ัตนม์ ากเทา่ กบั ยคุ คลืน่ ลูกทีส่ ามหรอื ยุคสังคมความรู้

       พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน ปี พ.ศ. 2542 ให้ความหมายของโลกาภิวัตน์ว่า การแพร่
กระจายไปทวั่ โลก การที่ประชาคมโลกไม่วา่ จะอยู่ ณ จดุ ใด สามารถรับรู้และสัมพันธ์ หรอื รับผลกระทบ
จากสง่ิ ท่เี กดิ ข้ึนไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว กว้างขวาง ซง่ึ เน่ืองมาจากการพฒั นาระบบสารสนเทศ

       โลกาภวิ ตั นเ์ ปน็ ปรากฏการณข์ องกระบวนการการเปลย่ี นแปลงทที่ ำ� ใหโ้ ลกเชอ่ื มโยงถงึ กนั อยา่ งไร้
พรมแดน อปุ สรรคทกี่ นั้ ขวางปฏสิ มั พนั ธท์ างเศรษฐกจิ สงั คม การเมอื ง วฒั นธรรมลดนอ้ ยลง การถา่ ยโอน
เคลื่อนย้ายสินค้า บริการ ทุน แรงงาน ความรู้ ข้อมูลข่าวสาร จากแหล่งหน่ึงไปยังอีกแหล่งหนึ่งเกิดข้ึน
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42