Page 43 - ความรู้ทางสังคมศาสตร์และเทคโนโลยี สำหรับนักนิเทศศาสตร์
P. 43
แนวคิดเก่ียวกับระบบสงั คมและสังคมโลก 1-33
อาจน�ำไปสู่ความขัดแย้งระหว่างประเทศและเสนอแนะวิธีด�ำเนินการ หรือแผนปฏิบัติการที่จะจัดท�ำความ
ตกลงส�ำหรับการยุติข้อพิพาทโดยสันติ เสนอแนะการรับสมาชิกใหม่ เสนอแนะสมัชชาฯ ในการแต่งต้ัง
เลขาธิการสหประชาชาติ และท�ำหน้าที่ร่วมกับสมัชชาฯ ในการเลือกตั้งผู้พิพากษาประจ�ำศาลยุติธรรม
ระหวา่ งประเทศ
2.1.3 คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม (Economic and Social Council: ECOSOC)
ประกอบด้วยสมาชิกจำ� นวน 54 ประเทศ อยู่ในตำ� แหนง่ คราวละ 3 ปี ทุกปจี ะมีการเลือกตงั้ แทนประเทศ
ท่พี น้ ต�ำแหน่งปลี ะ 18 ประเทศ สมาชกิ ทีค่ รบวาระแล้วมีสทิ ธิสมคั รเขา้ รบั เลือกตงั้ ซำ้� และสามารถรบั เลอื ก
ตง้ั ซำ�้ ในวาระตอ่ เนอ่ื งได้ คณะมนตรเี ศรษฐกจิ และสงั คมแบง่ การดำ� เนนิ งานออกเปน็ คณะกรรมาธกิ ารประจำ�
คณะกรรมาธิการภูมิภาค และองค์กรผู้เชี่ยวชาญ ท�ำหน้าท่ีศึกษาและรายงานเร่ืองระหว่างประเทศทาง
ดา้ นเศรษฐกิจ สังคม วฒั นธรรม การศกึ ษา อนามยั และอื่นๆ รวมทงั้ ใหค้ ำ� แนะน�ำ เพอื่ ส่งเสรมิ การเคารพ
และปฏบิ ัติตามสทิ ธมิ นษุ ยชนและอสิ รภาพข้นั มูลฐานของปวงชน
2.1.4 คณะมนตรีภาวะทรัสตี (Trusteeship Council) ประกอบด้วยประเทศสมาชิกท่ี
ปกครองดินแดนในภาวะทรัสตี ประเทศที่เป็นสมาชิกถาวรคณะมนตรีความม่ันคง เพื่อให้ได้สัดส่วนของ
ประเทศท่ีปกครองและมิได้ปกครองภาวะทรัสตีจ�ำนวนเท่าๆ กัน เม่ือเริ่มก่อต้ังองค์การสหประชาชาติ
ยังมีบางส่วนของโลก ท่ีประชาชนยังไม่อาจเลือกรัฐบาล ปกครองตนเองได้ สถานท่ีดังกล่าวจึงถูกน�ำเข้า
มาอยภู่ ายใตก้ ารคมุ้ ครองพเิ ศษของสหประชาชาติ และมชี อื่ เรยี กวา่ ดนิ แดนทรสั ตี ในอดตี ดนิ แดนดงั กลา่ ว
มีอยู่ 11 แห่ง ส่วนใหญ่อยู่ในแอฟริกาและมหาสมุทรแปซิฟิก คณะมนตรีนี้มีหน้าท่ีพิจารณารายงานของ
ประเทศที่ท�ำหน้าท่ีปกครองดินแดนและจัดท�ำข้อเสนอแนะเพื่อเร่งรัดการให้ดินแดนในภาวะทรัสตีเจริญ
กา้ วหน้ารวดเรว็ สามารถปกครองตนเองหรอื เป็นเอกราชได้
2.1.5 ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ (International Court of Justice) ประกอบด้วย
ผู้พิพากษาจ�ำนวน 15 คนอยู่ในต�ำแหน่งคราวละ 5 ปี คัดเลือกจากผู้มีคุณสมบัติสูงสุดทางตุลาการใน
ประเทศของตนหรือเป็นผู้เชี่ยวชาญในเร่ืองกฎหมายระหว่างประเทศซึ่งคณะมนตรีความม่ันคงแห่ง
สหประชาชาตแิ ละสมชั ชาสหประชาชาติเปน็ ผูค้ ัดเลือก มหี น้าท่พี ิจารณาข้อขัดแย้งในทางกฎหมายตามท่ี
แต่ละประเทศเสนอต่อศาลฯ และให้ค�ำแนะน�ำตัวบทกฎหมายเม่ือได้รับการร้องขอจากองค์กรภายใน
สหประชาชาติ รวมทั้งตีความกฎหมายระหว่างประเทศและการเตรียมร่างอนุสัญญาและสนธิสัญญาท่ี
กำ� หนดแนวทางปฏิบัตริ ะหว่างชาติ
2.1.6 ส�ำนักเลขาธิการ (Secretariat) มเี ลขาธกิ ารสหประชาชาติ เปน็ หวั หน้าฝ่ายบริหาร
ของสหประชาชาติ ด�ำรงต�ำแหน่งคราวละห้าปี เลขาธิการองค์การสหประชาชาติคนแรกเป็นชาวนอร์เวย์
ช่ือ นายทริฟ ลี (Trygve Lie) ในปี พ.ศ. 2557 มีเลขาธิการคนที่ 8 เป็นชาวเกาหลีใต้ คือนาย บัน
คมี นู (Ban Ki-Moon) ตามกฎบัตรสหประชาชาตเิ ลขาธกิ ารมหี นา้ ท่ี
- เปน็ หัวหน้าฝา่ ยบริหารของสหประชาชาติ
- ทำ� หนา้ ทเี่ ลขานกุ ารในการประชมุ ทง้ั ปวงของสมชั ชา คณะมนตรคี วามมนั่ คง คณะมนตรี
เศรษฐกจิ และสังคม และคณะมนตรภี าวะทรสั ตี รวมทั้งปฏบิ ัติหนา้ ทีท่ ่ีองคก์ ารเหล่าน้ีมอบหมาย