Page 47 - ความรู้ทางสังคมศาสตร์และเทคโนโลยี สำหรับนักนิเทศศาสตร์
P. 47

แนวคิดเกี่ยวกับระบบสงั คมและสังคมโลก 1-37

                    ภาพที่ 1.4 ตราสัญลักษณ์ของกองทุนการเงินระหว่างประเทศ

ที่มา: 	http://www.imf.org/external/index.htm

       โครงสรา้ งของกองทนุ การเงนิ ระหวา่ งประเทศประกอบดว้ ยสภาผวู้ า่ การประกอบดว้ ยผวู้ า่ การจาก
แต่ละประเทศสมาชิกจะประชุมร่วมกันปีละหนึ่งครั้งระหว่างการประชุมประจ�ำปีกองทุนการเงินระหว่าง
ประเทศและธนาคารโลกเพ่ือหารือและตัดสินใจนโยบายส�ำคัญของ IMF นอกจากน้ี ยังมีคณะกรรมการ
ดา้ นการเงินการคลงั ระหวา่ งประเทศ (International Monetary and Financial Committee: IMFC)
ซง่ึ ประกอบดว้ ยสมาชกิ จำ� นวน 24 ชาติ ตามองคป์ ระกอบของคณะกรรมการบรหิ ารกองทนุ ฯ โดย IMFC
ท�ำหน้าที่เป็นที่ปรึกษาสภาผู้ว่าการฯ ท�ำหน้าที่พิจารณาและจัดท�ำข้อเสนอส�ำหรับประเด็นนโยบายต่างๆ
ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั การกำ� กบั ดแู ลระบบการเงนิ โลก สำ� หรบั คณะกรรมการบรหิ ารและเจา้ หนา้ ทก่ี องทนุ การเงนิ ฯ
จะดแู ลการดำ� เนนิ กจิ การทวั่ ไปของกองทนุ การเงนิ ฯ ตามขอ้ เสนอของ IMFC ทง้ั น้ี กรรมการจดั การกองทนุ
การเงินฯ จะทำ� หนา้ ทีป่ ระธานคณะกรรมการบรหิ าร และผ้บู รหิ ารสูงสุดของเจ้าหน้าทกี่ องทุนการเงินฯ

       บทบาทหนา้ ทีห่ ลักของกองทนุ การเงินระหว่างประเทศมดี งั นี้
       (1) 	สง่ เสรมิ ใหอ้ ตั ราแลกเปลย่ี นเงนิ ตราระหวา่ งประเทศมเี สถยี รภาพและปอ้ งกนั การแขง่ ขนั ในการ
ลดคา่ เงนิ
       (2) 	ชว่ ยแกไ้ ขปญั หาขาดดลุ การชำ� ระเงนิ ของประเทศสมาชกิ เพอ่ื ไมใ่ หส้ ง่ ผลกระทบตอ่ ระบบการ
เงินโลก
       (3) 	ดูแลให้ประเทศสมาชกิ มีระบบอัตราแลกเปลีย่ นที่มีเสถยี รภาพ
       (4) 	อ�ำนวยความสะดวกและส่งเสริมการขยายตัวทางการค้าระหว่างประเทศอย่างสมดุล เพื่อให้
เกดิ การจา้ งงาน รายไดแ้ ละพฒั นาการผลติ ในระดบั สงู รวมทง้ั การพฒั นาทรพั ยากรทม่ี อี ยขู่ องประเทศสมาชกิ
       ในกรณีที่ประเทศสมาชิกประสบปัญหาเศรษฐกิจอย่างรุนแรงถึงข้ันต้องขอความช่วยเหลือจาก
IMF ประเทศผู้กจู้ ะต้องท�ำความตกลงเก่ยี วกับแผนการปรบั ปรงุ โครงสร้างเศรษฐกิจ โดยหลักการส�ำคญั
ที่ IMF ใช้เป็นเงื่อนไขกบั ประเทศผ้ขู อกู้ ประกอบด้วย
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52