Page 45 - ความรู้ทางสังคมศาสตร์และเทคโนโลยี สำหรับนักนิเทศศาสตร์
P. 45

แนวคิดเกี่ยวกับระบบสงั คมและสงั คมโลก 1-35

                         ภาพที่ 1.3 ตราสัญลักษณ์ขององค์การการค้าโลก

ท่ีมา: 	http://www.wto.org/index.htm

       โครงสรา้ งขององคก์ ารการคา้ โลกประกอบดว้ ย ทปี่ ระชมุ ระดบั รฐั มนตรี (Ministerial Conference)
คณะมนตรีใหญ่ (General Council) คณะมนตรี (Council) และคณะกรรมการต่างๆ (Committee)
ซง่ึ ประกอบดว้ ยผแู้ ทนของสมาชิกองคก์ ารการค้าโลก โดยมีฝา่ ยเลขานกุ ารชว่ ยด้านการบรหิ ารงานทัว่ ไป
องค์การการค้าโลกก�ำหนดให้มีการประชุมระดับรัฐมนตรีอย่างน้อยทุกๆ 2 ปี เพื่อทบทวนปัญหาใน
การปฏิบัตติ ามข้อผกู พนั ของสมาชกิ และวางแนวทางในการเปดิ เสรีภายใต้องค์การการคา้ โลกตอ่ ไป

       บทบาทหน้าทีข่ ององคก์ ารการค้าโลกประกอบด้วย
       (1) 	บรหิ ารความตกลง และบนั ทกึ ความเขา้ ใจทเี่ ปน็ ผลจากการเจรจาในกรอบของ GATT/WTO
โดยผา่ นคณะมนตรี และคณะกรรมการตา่ งๆ ตลอดจนดูแลให้มกี ารปฏบิ ัตติ ามพนั ธกรณี
       (2) 	เป็นเวทีเพื่อเจรจาลดอุปสรรคทางการค้าระหว่างสมาชิกท้ังในรูปของมาตรการภาษีศุลกากร
และมาตรการท่มี ใิ ชภ่ าษีศุลกากร
       (3) 	เปน็ เวทที ใ่ี หส้ มาชกิ หนั หนา้ เขา้ หารอื เพอื่ แกไ้ ขขอ้ ขดั แยง้ ทางการคา้ ระหวา่ งสมาชกิ และหาก
ไม่สามารถตกลงกันได้ก็จะมีการจัดตั้งคณะผู้พิจารณา (Panel) ท�ำหน้าท่ีตรวจสอบข้อเท็จจริงและให้ข้อ
เสนอแนะ รวมทั้งมีกลไกยุติขอ้ พิพาทด้วย
       (4) ตดิ ตามสถานการณก์ ารคา้ ระหวา่ งประเทศ และจดั ใหม้ กี ารทบทวนนโยบาย การคา้ ของสมาชกิ
อยา่ งสมำ�่ เสมอเพอื่ เปน็ การตรวจสอบให้เป็นไปในแนวทางการคา้ เสรี
       (5)		ใหค้ วามชว่ ยเหลอื แกป่ ระเทศกำ� ลงั พฒั นาในดา้ นขอ้ มลู ขอ้ แนะนำ� เพอื่ ใหส้ ามารถปฏบิ ตั ติ าม
พันธกรณีได้อยา่ งเพยี งพอตลอดจนทำ� การศกึ ษาประเดน็ การคา้ ทส่ี ำ� คญั ๆ
       (6)		ประสานงานกับกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) และธนาคารโลกเพื่อให้นโยบาย
เศรษฐกิจโลกสอดคล้องกันยง่ิ ข้ึน
       หลกั การในการดำ� เนนิ งานขององคก์ ารการคา้ โลกในการดแู ลการคา้ สนิ คา้ ครอบคลมุ ถงึ การคา้ การ
บริการ สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา และมาตรการการลงทุนท่ีเก่ียวกับการค้า โดยพยายามลดอุปสรรค
และมาตรการในการกีดกนั ทางการคา้ โดยมหี ลกั การปฏิบตั ทิ ่สี �ำคญั ดังน้ี
       (1)		การไม่เลือกปฏิบัติ (Non–discrimination) ในการใช้มาตรการทางการค้าระหว่างประเทศ
โดยการปฏิบัติต่อสินค้าจากทุกประเทศเท่าเทียมกัน (Most Favored Nation Treatment: MFN)
การเรยี กเกบ็ คา่ ธรรมเนยี มและภาษศี ลุ กากรหรอื มาตรการอน่ื ๆ ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั สนิ คา้ ทนี่ ำ� เขา้ ตอ้ งเรยี กเกบ็
เท่าเทยี มกนั ทุกประเทศ และตอ้ งปฏบิ ตั ิตอ่ สนิ คา้ น�ำเขา้ เทา่ เทยี มกบั สนิ คา้ ภายในประเทศ
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50