Page 46 - ความรู้ทางสังคมศาสตร์และเทคโนโลยี สำหรับนักนิเทศศาสตร์
P. 46

1-36 ความรทู้ างสังคมศาสตรแ์ ละเทคโนโลยสี �ำ หรบั นักนเิ ทศศาสตร์
       (2)		ความโปรง่ ใส ในการตงั้ ขอ้ กำ� หนดและมาตรการทางการคา้ ทน่ี ำ� มาบงั คบั ใชก้ บั สนิ คา้ ประเทศ

สมาชกิ จะตอ้ งพมิ พก์ ฎระเบยี บเกยี่ วกบั มาตรการทางการคา้ เผยแพรใ่ หส้ าธารณชนทราบและตอ้ งแจง้ เมอ่ื
เกิดการเปล่ียนแปลงกฎระเบียบ

       (3) 	การใช้ภาษศี ลุ กากรเท่านนั้ (Tariff-only protection) ในการคุ้มครองผู้ผลิตภายในห้ามใช้
มาตรการจ�ำกัดการน�ำเข้าสินค้าหรือบริการทุกชนิด ยกเว้นกรณีที่สอดคล้องกับบทบัญญัติขององค์การ
การค้าโลก

       (4) 	การรวมกลุ่มทางการค้าเพ่ือลดภาษีระหว่างกัน ทั้งน้ีต้องมีเง่ือนไขในการรวมกลุ่มต้องไม่มี
วัตถุประสงค์เพ่ือกีดกันการน�ำเข้าจากประเทศนอกกลุ่ม ต้องไม่กระทบกระเทือนผลประโยชน์เดิมของ
ประเทศนอกกล่มุ

       (5) 	การสง่ เสรมิ การแขง่ ขนั การคา้ ทเ่ี ปน็ ธรรม แตป่ ระเทศสมาชกิ สามารถเกบ็ ภาษแี ละตอบโตก้ าร
ทมุ่ ตลาดและการอดุ หนนุ สนิ คา้ เขา้ ได้ หากมกี ารไตส่ วนตามกฎระเบยี บขององคก์ ารการคา้ โลก แลว้ พบวา่
ประเทศผู้ส่งออกกระท�ำการทุ่มตลาดและให้การอุดหนุนจริง ได้ก่อให้เกิดความเสียหาย ซึ่งสินค้า
อุตสาหกรรมภายในประเทศ

       (6) 	กระบวนการยุติข้อพิพาททางการค้า เมื่อเกิดกรณีมีข้อขัดแย้งทางการค้าให้เจรจาหารือเพ่ือ
ยตุ ขิ อ้ พพิ าท หากทำ� ไมส่ ำ� เรจ็ ใหน้ ำ� ขอ้ พพิ าทเขา้ สกู่ ระบวนการขององคก์ ารการคา้ โลก เปน็ การสรา้ งความ
เขม้ แขง็ ใหแ้ ก่กระบวนการยุตขิ ้อพพิ าททางการคา้ ระหวา่ งประเทศ

       ประเทศไทยเข้าเปน็ สมาชกิ องค์การการคา้ โลก เม่ือวันท่ี 28 ธนั วาคม พ.ศ. 2538 เปน็ สมาชกิ
ล�ำดับท่ี 59 มีสถานะเป็นสมาชิกก่อตั้ง ท้ังนี้ก็เพ่ือป้องกันการถูกกีดกันทางการค้าในเวทีโลกและช่วยให้
การค้าระหว่างประเทศของไทยขยายตัว ผู้บริหารคนส�ำคัญของไทยคนหน่ึง คือ ดร.ศุภชัย พานิชภักด์ิ
อดตี รองนายกรฐั มนตรี ไดม้ โี อกาสดำ� รงตำ� แหนง่ ผอู้ ำ� นวยการองคก์ ารการคา้ โลก ระหวา่ งปี พ.ศ. 2545-2548
นับว่าเป็นผู้อ�ำนวยการองค์การการค้าโลกคนแรกของเอเชีย และของประเทศก�ำลังพัฒนาท่ีก้าวเข้าไปมี
บทบาทในองคก์ ารเศรษฐกิจระดับโลก

       3.2 	กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (International Monetary Fund: IMF) ก่อตั้งข้ึนเมื่อ
วนั ท่ี 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2487 จากการประชมุ United Nations Monetary and Financial Conference
หรือ ท่ีรู้จักดีในนามของ Bretton Woods Conference โดยมีส�ำนักงานใหญ่อยู่ที่กรุงวอชิงตัน
ดซี ี สหรฐั อเมรกิ า และมฐี านะเปน็ ทบวงการชำ� นญั พเิ ศษของสหประชาชาติ มบี ทบาทหลกั ในการสอดสอ่ ง
ดูแลเศรษฐกิจ รวมท้ังให้ความช่วยเหลือทางการเงิน และความช่วยเหลือทางวิชาการแก่ประเทศสมาชิก
เพอ่ื ใหร้ ะบบการเงนิ ระหวา่ งประเทศมเี สถยี รภาพ จำ� นวนประเทศสมาชกิ ของ IMF ไดเ้ พม่ิ จาก 29 ประเทศ
เมื่อเร่มิ ก่อตง้ั เป็น 185 ประเทศในปจั จุบนั (ขอ้ มลู ณ ปพี .ศ. 2550 จากธนาคารแห่งประเทศไทย) ท้งั นี้
ประเทศทส่ี มัครเป็นสมาชิก IMF จะต้องเป็นสมาชกิ ขององค์การสหประชาชาตกิ อ่ น
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51