Page 17 - ความรู้ทางสังคมศาสตร์และเทคโนโลยี สำหรับนักนิเทศศาสตร์
P. 17
ความรดู้ ้านเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร 11-7
เชน่ การบนั ทกึ ยอ่ จดหมาย การพดู คยุ ทางโทรศพั ท์ การพบปะประชมุ รว่ มกนั และการเผยแพรเ่ อกสารไป
ยงั หนว่ ยงานอนื่ ซง่ึ ผทู้ ำ� งานในสำ� นกั งานสามารถเลอื กรปู แบบใหเ้ หมาะสมกบั บคุ คลหรอื หนว่ ยงาน วธิ กี าร
ติดต่อส่ือสารสามารถท�ำได้หลายทาง ขึ้นอยู่กับปัจจัยประกอบหลายประการ เช่น การเลือกรูปแบบการ
ติดต่อ และการเลอื กช่องหรือตวั กลางการตดิ ตอ่ ซงึ่ อาจใช้เลขานุการ ใช้พนกั งานส่งจดหมายหรอื ใชร้ ะบบ
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เน่ืองจากเทคโนโลยีของคอมพิวเตอร์ก้าวหน้าไปมาก ท�ำให้เกิดระบบการสื่อสาร
ใหม่ๆ ออกมาตลอดเวลา ผู้ที่ท�ำงานในส�ำนักงานจึงมีโอกาสเลือกใช้วิธีการติดต่อสื่อสารระหว่างกันโดยมี
ปัจจยั สำ� คญั ซึ่งใช้ในการพจิ ารณาเลือกระบบสือ่ สารให้สามารถนำ� มาใชง้ านไดด้ กี ลา่ วคอื
1. กลุ่มผใู้ ช้ระบบสอื่ สารควรมจี �ำนวนมากพอ ระบบสือ่ สารน้ันจะไมเ่ กดิ ประโยชนส์ ูงสดุ ถา้ มีกลมุ่
ผูใ้ ช้งานนอ้ ยเพราะจะทำ� ให้การกระจายขอ้ มลู ทำ� ไดไ้ ม่กว้างขวาง
2. การเขา้ กันได้ระหว่างระบบสื่อสารกบั งานของส�ำนักงาน ระบบสื่อสารนนั้ ควรมีรูปแบบเหมอื น
หรอื เขา้ กนั ไดก้ บั งานท่ดี �ำเนินการอยู่ หากตอ้ งมกี ารเปลย่ี นรปู แบบของขอ้ มลู เพอื่ เขา้ กับระบบสอื่ สาร หรอื
ข้อมูลท่ีได้รับจากระบบส่ือสารไม่สามารถใช้กับงานเดิมได้ จะท�ำให้เกิดความไม่สะดวก ปราศจากความ
ปลอดภยั และขาดความเชื่อถอื ในการติดตอ่ สื่อสาร
3. ความสมเหตุสมผลทางราคา ระบบส่ือสารต่างๆ จะต้องมีค่าใช้จ่ายประกอบด้วยเสมอ ซ่ึง
ค่าใชจ้ า่ ยน้จี ะต้องอยูใ่ นวสิ ัยทส่ี ามารถลงทุนได้และต้องคุม้ คา่ กบั ราคา
ปจั จยั ทง้ั สามเปน็ ขอ้ พจิ ารณาในการเลอื กใชร้ ะบบสอ่ื สาร เพอ่ื ทำ� ใหง้ านในสำ� นกั งานมปี ระสทิ ธภิ าพ
สูงสุด การน�ำคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยระบบส่ือสารก็จะท�ำให้ระบบงานลดความซับซ้อนลงได้ ระบบการ
สอ่ื สารทน่ี า่ สนใจจะเปน็ การสง่ ขอ้ มลู หรอื ขอ้ ความดว้ ยคอมพวิ เตอร์ ทเี่ รยี กวา่ ไปรษณยี อ์ เิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ระบบ
สอ่ื สารทใ่ี ช้ภายในสำ� นักงานสว่ นใหญ่ คอื การส่งจดหมาย การโทรศัพท์ การสง่ โทรเลข การสง่ เทเล็กซ์
โทรศัพท์ไดร้ บั การจดทะเบยี นสทิ ธิบัตรและให้บริการมาต้งั แต่ พ.ศ. 2413 ในชว่ งเวลาเดียวกบั ที่
มกี ารพฒั นาเครือ่ งพมิ พ์ อปุ กรณถ์ ่ายภาพ และหลอดไฟ ในระยะเร่มิ แรกโทรศัพทไ์ ม่คอ่ ยได้รบั ความนิยม
มาก อัตราการขยายการใช้งานค่อนข้างต่ําเมื่อเทียบกับอุปกรณ์ท่ีเกิดข้ึนมาในช่วงเวลาใกล้เคียงกัน ท้ังน้ี
สาเหตใุ หญเ่ นอ่ื งมาจากเครอื ขา่ ยของโทรศพั ทย์ งั ครอบคลมุ ในพน้ื ทบ่ี รเิ วณเลก็ ๆ ซงึ่ ตามปกตสิ ามารถตดิ ตอ่
ส่ือสารกันได้ด้วยจดหมายภายในเวลาไม่ก่ีช่ัวโมง ปัจจุบันเครือข่ายของโทรศัพท์ได้มีการแพร่หลาย
ครอบคลมุ ในบรเิ วณกวา้ ง และเปน็ ทยี่ อมรบั สำ� หรบั การตดิ ตอ่ สอื่ สารทางธรุ กจิ ทว่ั โลก ในทกุ ประเทศ ธรุ กจิ
และกิจการหลายอย่างมีการด�ำเนินงานโดยพึ่งพาโทรศัพท์ โทรศัพท์ได้รับความนิยมอย่างมากเพราะ
เทคโนโลยขี องโทรศพั ทไ์ ดร้ บั การพฒั นามาหลายขน้ั ตอนทงั้ ในดา้ นตวั เครอ่ื ง ตชู้ มุ สาย และระบบเชอ่ื มโยง
เป็นเครือข่าย การติดต่อส่ือสารทางโทรศัพท์ได้รับความนิยมกันแพร่หลายรวดเร็วจนจ�ำนวนคู่สายไม่พอ
เพียงต่อความต้องการจึงมีการขยายอยู่เรื่อยมาและมีการพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ออกมาตัวอย่างเช่น
พัฒนาการของโทรศัพท์เคลื่อนท่ี ตลอดจนการใช้คู่สายแบบเส้นใยน�ำแสง การติดต่อส่ือสารด้วยโทรศัพท์
ยังจำ� เปน็ และจะคงอยู่ภายในสำ� นกั งานไปอกี นาน บริการโทรเลขและเทเล็กซเ์ ปน็ การส่ือสารอกี ทางหนึง่ ท่ี
มีมานานพอสมควร สามารถส่งข่าวสารในรปู แบบตวั อกั ษรจากจดุ หนึ่งไปยงั อีกจุดหนงึ่ อย่างรวดเรว็