Page 37 - การออกแบบทางการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
P. 37

การออกแบบขวด 11-27
            1.3.4 	หลีกเล่ียงรูปทรงเหล่ียมมุม การออกแบบตัวขวดควรหลีกเล่ียงรูปทรงที่มีเหลี่ยม
มมี มุ หรอื มสี ว่ นทยี่ น่ื ออกมา เพราะเปน็ รปู ทรงทผ่ี ลติ ไดย้ าก อกี ทงั้ อาจเกดิ จดุ บกพรอ่ งในการผลติ ทบี่ รเิ วณ
เหล่ียมมุมดังกล่าวได้ง่าย กรณีขวดแก้วจะเกิดจุดบกพร่องในรูปแบบฟองอากาศ หรือมีลิ่มแก้วในเนื้อ
ขวดแกว้ กรณขี วดพลาสตกิ หากออกแบบขวดทม่ี เี หลยี่ มมมุ เมอื่ ขน้ึ รปู อาจมกี ารกระจายตวั ของพอลเิ มอร์
ทไี่ มส่ มํ่าเสมอท�ำใหเ้ กิดความเค้นสะสม* และเกดิ รอยแตกท่ีตัวขวดได้
       1.4 	แนวทางการออกแบบก้นขวด การออกแบบก้นขวดเป็นสิ่งส�ำคัญในการออกแบบขวด
เนอ่ื งจากกน้ ขวดทำ� หนา้ ทร่ี บั นาํ้ หนกั ทงั้ หมดของบรรจภุ ณั ฑ์ กน้ ขวดทถ่ี กู ออกแบบมาอยา่ งเหมาะสม ตอ้ ง
สามารถรบั นา้ํ หนกั ของบรรจภุ ณั ฑแ์ ละผลติ ภณั ฑท์ บี่ รรจไุ ด้ กน้ ขวดตอ้ งมคี วามมน่ั คง ไมล่ ม้ งา่ ยตอ้ งมคี วาม
กลมกลนื กบั ปากขวด คอขวด และตวั ขวด อกี ทงั้ ตอ้ งผลติ ไดง้ า่ ย สามารถผา่ นกระบวนการบรรจุ ตดิ ฉลาก
ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ สิ่งส�ำคัญในการออกแบบก้นขวดคือ การออกแบบแม่พิมพ์และการควมคุมสภาวะในการ
ขึ้นรูปให้เหมาะสม
       เนอื่ งจากบรเิ วณกน้ ขวดหรอื ฐานขวดมที งั้ สว่ นทแี่ บนราบและสว่ นทต่ี อ้ งถกู เปา่ ยดื ซงึ่ หากออกแบบ
และควบคมุ สภาวะการขนึ้ รปู ไมด่ ี อาจท�ำใหพ้ อลเิ มอรก์ ระจายตวั ไมส่ มา่ํ เสมอ อาจทำ� ใหส้ ว่ นกน้ ขวดมคี วาม
หนาไม่สมํ่าเสมอ และอาจเกิดรอยร้าวท่ีก้นขวดได้ ดังนั้นส่ิงส�ำคัญคือในการออกแบบก้นขวดคือ การ
ออกแบบแมพ่ มิ พแ์ ละการควมคมุ สภาวะในการขนึ้ รปู ใหเ้ หมาะสม เพอ่ื ใหเ้ กดิ การกระจายตวั ของพอลเิ มอร์
อยา่ งสมํา่ เสมอ
       ในกรณกี ารออกแบบฐานขวดพลาสตกิ ผอู้ อกแบบสามารถออกแบบไดต้ งั้ แตข่ น้ั ตอนการออกแบบ
พรฟี อรม์ โดยหลกั การแลว้ ตอ้ งออกแบบใหก้ น้ ขวดมเี สถยี รภาพ (stability) และสามารถตงั้ ไดด้ ี (standing
capability) โดยการออกแบบรูปแบบของซี่ และรัศมีของซ่ี บริเวณก้นขวดให้เหมาะสมน่ันเอง ซึ่งต้อง
ท�ำการออกแบบให้สอดคลอ้ งกันแถบกันช็อก ในการออกแบบตัวขวดด้วย

2. 	 แนวทางการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการออกแบบขวด

       ในปัจจุบันความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีช่วยให้การออกแบบขวดสามารถท�ำได้
อย่างสะดวกรวดเร็วขึ้น โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เป็นเคร่ืองมือ การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการ
ออกแบบขวดช่วยลดการใช้พลังงานและวัสดุลงได้ ซึ่งเป็นแนวทางหนึ่งในการออกแบบบรรจุภัณฑ์อย่าง
ยง่ั ยนื เนอื่ งจากผอู้ อกแบบสามารถลดขน้ั ตอนการผลติ ตน้ แบบผลติ ภณั ฑ์ ซงึ่ ในอดตี มกั ใชว้ ธิ หี ลอ่ แบบจาก
พลาสตกิ ทลี ะชนิ้ รวมทั้งผู้ออกแบบยังสามารถไดข้ ้อมูลทสี่ ำ� คญั กอ่ นการผลิตจริง เชน่ ได้เหน็ ภาพขวดใน
รปู แบบ 3 มติ ิ และเหน็ การกระจายตวั ของความเคน้ ทจ่ี ะเกดิ ขนึ้ จากการผลติ ทบี่ รเิ วณตา่ งๆ ไดอ้ ยา่ งชดั เจน
ซ่ึงผู้ออกแบบสามารถน�ำข้อมูลดังกล่าวมาท�ำการวิจัยการตลาด และวิเคราะห์เกี่ยวกับความแข็งแรงและ
ความหนาท่ีน้อยที่สุดในการผลิตไดอ้ ยา่ งคอ่ นข้างแมน่ ยำ�

         * ความเค้นสะสม หมายถึง พ้ืนผิวขวดพลาสติกท่ีได้รับแรงกระทำ�จากกระบวนการขึ้นรูปโดยการเป่าหรือเป่าแบบฉีด
อยา่ งไมส่ มา่ํ เสมอกนั พนื้ ผวิ บางสว่ นไดร้ บั แรงกระทำ�มาก พน้ื ผวิ บางสว่ นไดร้ บั แรงกระทำ�นอ้ ย พน้ื ผวิ ทไ่ี ดร้ บั แรงกระทำ�มากจะทำ�ให้
เนอ้ื พลาสตกิ มคี วามอ่อนแอ เกิดการเสียสภาพ หรือฉกี ขาดได้ง่าย

                                 97318-11 คร้ังท่ี 4 (11.05.58) M-6-i6 ai (19-2/57)-ZA 
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42