Page 34 - การออกแบบทางการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
P. 34

11-24 การออกแบบทางการพิมพ์และบรรจภุ ัณฑ์

	 ก.	                                     ข.

                    ภาพที่ 11.14 ตัวอย่างการออกแบบรูปทรงขวดที่ไม่เหมาะสม
	 ก. การออกแบบฐานขวดทรงรีท�ำให้เกิดการกระจุตัวที่สายพาน และ
	 ข. การออกแบบขวดไหล่กว้างฐานแคบท�ำให้ขวดชนกันบนสายพาน

            และเมอื่ พจิ ารณาเกยี่ วกบั การใชพ้ ลงั งานในการผลติ ขวดพบวา่ ขวดทมี่ รี ปู รา่ งตรงไมม่ เี หลยี่ ม
มมุ จะประหยัดพลังงานและประหยัดเน้อื วสั ดใุ นการผลิตไดด้ กี ว่าขวดท่ีมเี หลี่ยมมมุ โคง้ เว้า เนื่องจากตอ้ ง
เพม่ิ เนื้อวสั ดุลงในส่วนโคง้ เว้าจึงสินเปลอื งพลังงานและวสั ดมุ ากกวา่

	 ก.	 ข.	 ค.
              ภาพท่ี 11.15 ตัวอย่างการออกแบบขวดเพ่ือส่งเสริมการขายและการใช้งาน

	 ก. ขวดนํ้าหอมรูปทรงแปลกตา
	 ข. ขวดน้ําอัดลมมีรอยเว้าเพื่อจับสะดวก และ
	 ค. ขวดโลช่ันมีส่วนเว้าสวยงาม

            กรณีขวดแก้ว ผู้ออกแบบสามารถเพ่ิมความแข็งแรงให้แก่ขวด โดยการออกแบบให้มีแถบ
กนั ชอ็ ก (shock band) ทตี่ วั ขวด แถบกนั ชอ็ ก หมายถงึ แถบทมี่ ลี กั ษณะนนู ขนึ้ บรเิ วณตวั ขวดตดิ กบั ไหล่
และกน้ ขวดดงั ภาพ ซง่ึ แถบดงั กลา่ วจะชว่ ยในการรบั แรงทกี่ ระทำ� ตอ่ ตวั ขวด และหากออกแบบแถบกนั ชอ็ ก
ให้เป็นปุ่มนูน จะย่ิงเพิ่มประสิทธิภาพในการรับแรงได้ดีย่ิงข้ึน นอกจากนั้นแถบกับช็อกบริเวณติดกับ
กน้ ขวดยงั ชว่ ยลดการเกดิ ความเสียหายท่เี กิดจากทอร์มัลช็อกได้อกี ดว้ ย

                                  97318-11 ครั้งที่ 4 (11.05.58) M-6-i6 ai (19-2/57)-ZA 
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39