Page 60 - วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
P. 60
2-48 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการพ ิมพ์แ ละบรรจุภัณฑ์
เจล าติน
AgNO3 (aq) + KBr (aq) AgBr (s) + KNO3 (aq)
ผลึกข องซ ิลเวอรแ์ ฮไลดท์ ีเ่ตรียมไดม้ ีชื่อเรียกอ ีกช ื่อห นึ่งว ่า เกรน (grain) โดยเกรนข องซ ิลเวอร์แฮไลดเ์กิดข ึ้น
จากไอออนข องซ ิลเวอร์ 1 ไอออนล ้อมร อบด ้วยไอออนข องแ ฮไลด์ 6 ไอออน หรือไอออนของแ ฮไลด์ 1 ไอออนล ้อมร อบ
ด้วยไอออนของซิลเวอร์ 6 ไอออน ทำ�ให้ผลึกซิลเวอร์แฮไลด์ม ีล ักษณะรูปร่างห กเหลี่ยม ดังภาพที่ 2.8
ภาพที่ 2.8 ตัวอย่างโครงสรา้ งแ ละลกั ษณะรูปร่างของผลกึ ซ ลิ เวอรแ์ ฮไลด์
ทม่ี า: http://www.kodak.com/US/en/corp/researchDevelopment/whatWeDo/technology/chemistry/silver.html.
เมื่อได้ผลึกซ ิลเวอร์แฮไลด์แ ล้ว ต้องผ ่านข ั้นต อนๆ อีก ได้แก่ การเพิ่มขนาดผ ลึก การล้างน ํ้า การเพิ่มความ
ไวแสง และก ารเติมสารเติมแ ต่งจนได้เป็นเยื่อไวแสง จากนั้นจึงนำ�เยื่อไวแสงที่ได้ไปเคลือบบ นวัสดุร องรับซ ึ่งอาจเป็น
ฟิล์มพ ลาสติก กระดาษ หรือโลหะ และเคลือบชั้นป ้องกันท ับลงไปอีกชั้นหนึ่ง ก็จ ะได้ฟ ิล์มไวแสง กระดาษไวแ สง และ
แม่พิมพ์ไวแ สง ที่พ ร้อมน ำ�ไปใช้ง าน เมื่อนำ�ว ัสดุเหล่าน ี้ไปถ ่ายภาพห รือฉ ายแสง ทำ�ให้ Br— ในผลึกซิลเวอร์แฮไลด์ใน
บริเวณของเยื่อไวแ สงท ี่ได้รับแ สงปลดปล่อยอิเล็กตรอน (e— ) ซึ่งจะไปร ีดิวซ์ไอออนข องซ ิลเวอร์ (Ag+) ให้ก ลายเป็น
โลหะเงิน (Ag0) ดังนี้
พลังงานแ สง Ag+ + Br + e—
AgBr Ag0
Ag+ + e—
โลหะเงินท ี่เกิดข ึ้นในผลึกซิลเวอร์แ ฮไลด์ ทำ�ให้เกิดบริเวณท ี่เรียกว่า “ภาพแ ฝง (latent image)” ขึ้นในช ั้น
เยื่อไวแสง ภาพแฝงมีความเสถียรในช่วงระยะเวลาหนึ่ง เพื่อให้ภาพของโลหะเงินเสถียรและปรากฏให้เห็นได้โดย
ชัดเจน ต้องนำ�ว ัสดุท ี่ฉ ายแ สงแล้วไปผ่านกระบวนการล้างสร้างภ าพ (developing process) ด้วยสารเคมีต ่างๆ ทำ�ให้
ภาพแฝงเปลี่ยนเป็นภ าพปรากฏข องโลหะเงิน ซึ่งมีสีด ำ� ดังภาพที่ 2.9 ก. รวมทั้งเพื่อล้างเกลือซิลเวอร์แฮไลด์ท ี่ไม่ได้
รับแสงออกไป และเนื่องจากบริเวณภาพปรากฏ คือ บริเวณของผลึกซิลเวอร์แฮไลด์ที่ได้รับแสง ดังนั้นภาพปรากฏ
ที่ได้มีล ักษณะเป็นเนกาทิฟ (negative image) กล่าวคือ มีนํ้าหนักส ีกลับก ับน ํ้าห นักส ีของต ้นแบบท ี่ถ่าย เช่น บริเวณ
สขี าวข องต ้นแบบก ลายเป็นบ ริเวณส ดี ำ�ในฟ ิล์มถ ่ายภ าพ เนกาทิฟ ในข ณะท ีบ่ ริเวณส ดี ำ�ข องต ้นแบบก ลายเป็นบ ริเวณใส
ส่วนบริเวณนํ้าห นักส ีอ ื่นๆ ก็จ ะมีความดำ�เข้มอ่อนแ ตกต ่างกันไป ดังต ัวอย่างภาพที่ 2.9 ข.