Page 55 - วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
P. 55

กรด เบส และ​เกลือ 2-43

       ปกติ​นํ้า​ยา​ฟา​วน์​เท​นที่​ผลิต​จาก​บริษัท​ผู้​ผลิต​จะ​เป็น​นํ้า​ยา​ฟา​วน์​เทน​เข้ม​ข้น ผู้​ใช้​จะ​ต้อง​ผสม​กับ​นํ้า​สะอาด​
ใน​สัดส่วน​ที่​ถูก​ต้อง​ที่​จะ​ให้​ค่า​ความ​เป็นก​รด​ของ​นํ้า​ยา​ฟา​วน์​เท​นอ​ยู่​ใน​ช่วง​เหมาะ​สม​ที่​ใช้​งาน หาก​ผสม​สัดส่วน​นํ้า​กับ​
​นํ้าย​ าฟ​ าว​ น์เ​ทนไ​ม่ถ​ ูกต​ ้อง มีผ​ ล​ให้ค​ ่าค​ วามเ​ป็นกร​ ด​ไม่อ​ ยู่​ในช​ ่วง​ใช้ง​ าน จะม​ ีผ​ ล​ให้เ​กิดป​ ัญหา​ทางการ​พิมพ์​ได้ โดยถ​ ้า​
นํ้า​ยา​ฟา​วน์​เท​นมี​ความ​เป็นก​รด​มาก​เกิน​ไป​จะ​ทำ�ให้​นํ้า​เข้า​รวม​ตัว​กับ​หมึก​พิมพ์​ได้​มาก ทำ�ให้​หมึก​พิมพ์​แขวนลอย​ใน​
นํ้าย​ าฟ​ าว​ น์เ​ทน หรือท​ ำ�ให้ห​ มึกพ​ ิมพ์แ​ ห้งต​ ัวช​ ้าล​ ง หรือท​ ำ�ให้บ​ ริเวณไ​ร้ภ​ าพบ​ นแ​ ม่พ​ ิมพ์ร​ ับห​ มึกพ​ ิมพ์ไ​ด้ หรืออ​ าจท​ ำ�ลาย​
ชั้น​บน​สุด​ที่​เป็น​ชั้น​ปกป้อง (protective layer) ผิว​ของ​แม่​พิมพ์​ใน​บริเวณ​ไร้​ภาพ ส่ง​ผล​ให้​ความ​สามารถ​ใน​การ​รับ​
น​ ํา้ ล​ ดล​ ง และท​ �ำ ใหใ​้ นบ​ างบ​ รเิ วณบ​ นแ​ มพ​่ มิ พเ​์ กดิ ป​ ญั หาแ​ ผน่ พ​ มิ พต​์ รงบ​ รเิ วณไ​มใ่ ชภ​่ าพต​ ดิ ห​ มกึ พ​ มิ พห​์ รอื ท​ เี​่ รยี กว​ า่ สกมั
(scum) ได้ ในท​ างต​ รงข​ า้ ม ถา้ น​ ํา้ ย​ าฟ​ าว​ นเ​์ ทน​ มค​ี วามเ​ปน็ กร​ ดน​ อ้ ยเ​กนิ ไ​ป คอื มค​ี า่ pH มากกวา่ 5.5 ท�ำ ใหแ​้ มพ​่ มิ พร​์ บั น​ ํา้ ไ​ด​้
นอ้ ยล​ ง จึงไ​มส​่ ามารถก​ นั ห​ มึกพ​ ิมพใ​์ หล​้ งใ​นบ​ รเิ วณไ​มใ่ ชภ​่ าพไ​ดเ​้ ตม็ ป​ ระสทิ ธิภาพ ทำ�ใหแ้​ มพ่​ มิ พต์​ ้องการน​ ํ้าย​ าฟ​ าว​ นเ์​ทน​ ​
มากข​ ึ้น เพื่อร​ ักษาบ​ ริเวณไ​รภ้​ าพใ​หป้​ ราศจากห​ มึกพ​ ิมพ์ ถ้าจ​ ่ายน​ ํ้าย​ าฟ​ าว​ นเ์​ทนต​ ามป​ กติ กอ็​ าจเ​กิดป​ ัญหาส​ กัมห​ รือค​ ราบ​
หมึกพ​ ิมพ์บ​ น​บริเวณไ​ม่ใช่​ภาพ​บน​แผ่น​พิมพ์​ได้เ​ช่น​กัน นอกจากน​ ี้​ยัง​ทำ�ให้​หมึก​พิมพ์ถ​ ่ายทอด​ไปบ​ นล​ ูก​กลิ้งห​ มึกพ​ ิมพ​์
น้อย​ลงใ​น​ขณะ​เดินเ​ครื่องพิมพ์ไ​ด้ เกิด​ปัญหาก​ าร​ไม่​รับห​ มึก​พิมพ์ (stripping) ได้

       ดัง​นั้น การเต​รี​ยม​นํ้า​ยา​ฟา​วน์​เทน​จะ​ต้อง​ศึกษา​สัดส่วน​หรือ​ร้อย​ละ​ของ​นํ้า​ยา​ฟา​วน์​เทน​เข้ม​ข้น​กับ​นํ้าตาม​ที่​
บริษัทผ​ ู้ผ​ ลิตแ​ นะนำ� แล้วจ​ ึงเ​ตรียม​นํ้าย​ า​ฟา​วน์​เทน​ตามส​ ัดส่วนท​ ี่​แนะนำ� โดย​เติมน​ ํ้า​ยาฟ​ าว​ น์เ​ทน​เข้มข​ ้นลง​ใน​นํ้า กวน​
ให้​เข้า​กันเ​พื่อ​เกิด​การ​ละลายอ​ ย่างท​ ั่วถ​ ึง จาก​นั้น​ต้อง​วัดค​ วามเ​ป็นก​รด-เบสโ​ดยใ​ช้​กระดาษว​ ัดพีเ​อช​หรือม​ าตร​วัด​พีเ​อช
(pH meter) เพื่อใ​ห้​แน่ใจไ​ด้ว​ ่า​นํ้า​ยาฟ​ าว​ น์​เท​นที่​เตรียม​นั้น​มี​ความ​เป็นกร​ ดเ​หมาะ​สมกับ​การนำ�​ไปใ​ช้ง​ าน

เติมนํ้ายาฟาวน์เทน  ใช้กระดาษวัดพีเอช​  เปรียบเทียบสีที่ได้เพื่อ ใช้มาตรวัดพีเอชวัดค่า PH
 เข้มข้นในนํ้าตาม   วัดความเป็นกรด        ตรวจสอบค่า PH
 สัดส่วนที่แนะนำ�

ภาพ​ที่ 2.6 การเตร​ ​ยี ม​น้ําย​ า​ฟา​วนเ​์ ทน​โดยม​ ี​การ​วัด​ค่า​ความเ​ปน็ กร​ ดข​ องน​ า้ํ ​ยาฟ​ าว​ น์เ​ทน

       นอกจากน​ ี้ ยงั ม​ ก​ี ารเ​ตมิ ก​ รดบ​ างต​ วั เ​พือ่ ช​ ว่ ยป​ อ้ งกนั ก​ ารต​ กต​ ะกอนใ​นน​ ํา้ ย​ าฟ​ าว​ นเ​์ ทน ตวั อยา่ ง เชน่ กรดเ​อทลิ น​ี -​
ไดเ​อม​ นี เ​ทท​ ระแ​ อซ​ ต​ี กิ (ethylinediamine-tetraacetic acid, EDTA) และก​ รดไ​นโ​ทรโ​ลไ​ทรแ​ อซ​ ต​ี กิ (nitrilotriacetic​
acid) เป็น​สาร​ช่วย​ป้องกัน​การ​ตก​ตะกอน​ของ​แคลเซียม​และ​แมกนีเซียม โดย​การ​จับ​ไอออน​ของ​แคลเซียม​และ​
แมกนีเซียม​ที่​อยู่​ใน​นํ้า​ยา​ฟา​วน์​เทน แล้ว​รวม​ตัว​กัน​เกิด​เป็น​สารประกอบ​เชิงซ้อน​ที่​ละลาย​ได้​ใน​นํ้า เรียก​ว่า ตัว​คี​เลต
(chelating agent) จึงไ​ม่เ​กิด​การต​ ก​ตะกอน​ในน​ ํ้าย​ า​ฟาว​ น์​เทน
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60