Page 54 - วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
P. 54
2-42 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีก ารพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
สมบัติสำ�คัญข องนํ้ายาคงภ าพ คือ ต้องม ีค วามเป็นกร ด แต่การนำ�ฟิล์มท ี่ผ่านนํ้ายาส ร้างภ าพที่เป็นเบสใส่ลง
ไปในน ํ้ายาคงภาพที่มีสภาพเป็นกรด นํ้ายาค งภ าพจะมีค ่า pH สูงข ึ้น นํ้ายาคงภาพจะเสื่อมสภาพเร็ว การเกิดปฏิกิริยา
กับซ ิลเวอร์แ ฮไลดท์ ี่ไมไ่ดร้ ับแ สงน ้อยล ง จึงค วรให้ฟ ิล์มผ ่านน ํ้ายาห ยุดส ร้างภ าพ (stop bath) อาทิ นํ้าห รือก รดแ อซ ิต ิก
เจือจางเสียก่อน เพื่อป รับค ่า pH ของฟิล์มให้ต ํ่าล งก ่อนเข้าส ู่ขั้นต อนก ารค งภาพ
สารท ี่น ิยมใช้ในนํ้ายาคงภาพ ได้แก่ ไทโอซัลเฟต (thiosulfate) หรือเรียกกันทั่วไปว่า ไฮโป (hypo) อาจเป็น
ซ(โNซิลเHเดวีย4อ)มร2์ทSไที่ล2Oโะอล3ซา)ัลยซเนฟึ่งํ้าตสไดา(ร้sไoทdโiอuซmัลtเhฟioตsนuี้lเfมaื่อteท,ำ�Nปaฏ2ิกSิร2Oิยา3ก) ับหซรือิลแเวออมรโ์มแเฮนไียลมดไ์ทที่ไโมอซ่ไดัล้เรฟับตแส(aงmจmะไoดn้เiuกmลือtเhชิiงoซs้อuนlfaขtอeง,
Ag+ Br— + Na2S2O3 Na5Ag3 (S2O3)4
ซิลเวอร์โบรไมด์ โซเดียมไทโอซ ัลเฟต เกลือเชิงซ้อนของซิลเวอร์
กรดจ ำ�เป็นต ่อก ารค งภาพในน ํ้ายาค งภาพ เพราะจ ะท ำ�ให้ป ฏิกิริยาสร้างภ าพบนฟ ิล์มห ยุดลงได้เร็วขึ้น กรดที่
ใช้น ํ้ายาค งภ าพเป็นกร ดอ่อน เช่น กรดแ อซีต ิก (acetic acid, CHCOOH) ควรจะม ีค่า pH ประมาณ 4.5-5.5 จึงท ำ�ให้
ภาพค งตัวได้ด ี แต่ถ ้าน ํ้าค งภ าพม ีค วามเป็นกร ดมากเกินไป ค่า pH ตํ่าก ว่า 4.5 ทำ�ให้ส ารไฮโปสลายตัว เกิดกำ�มะถัน
ลอยตัวอยู่ในนํ้ายาไฮโปได้ (colloidal sulphur) และอะตอมของกำ�มะถันจะเกาะติดเป็นคราบบนฟิล์ม หรือทำ�ให้
บริเวณใสข องฟ ิล์มข ุ่นได้ และถ ้าแ ทรกซึมเข้าไปในเยื่อไวแ สงข องฟ ิล์ม และล้างด ้วยน ํ้าไม่อ อก จะเห็นต ิดอ ยู่ในภ าพได้
Na2S2O3 + H+ 2NaHSO—3 + S0
โซเดียมไ ทโ อซัลเฟต กรด โซเดียม ไบซัลไฟต์ กำ�มะถัน
3. กรดแ ละบัฟเฟอร์ในก ารพมิ พ์อ อฟเซตล โิ ทกราฟี
ในขั้นตอนการพิมพ์ออฟเซต จะมีการจ่ายนํ้ายาฟาวน์เทนจากระบบทำ�ชื้น (dampening system) บน
เครื่องพิมพ์ เพื่อให้ค วามชื้นไปบ นแ ม่พิมพ์ในบ ริเวณไม่ใช่ภาพหรือบริเวณไร้ภาพ (non-image area) ก่อนท ี่แม่พิมพ์
จะไปรับหมึกพิมพ์จากระบบหมึกพิมพ์บนเครื่องพิมพ์ โดยหมึกพิมพ์จะสามารถเกาะติดบนบริเวณภาพของแม่พิมพ์
ซึ่งไม่มีความชื้นอยู่ นํ้ายาฟาว น์เทนเป็นสารละลายที่ต ้องม ีสมบัติความเป็นกรดท ี่เหมาะสม เนื่องจากนํ้ายาฟาวน์เทน
จะส ามารถค รอบคลุมบ ริเวณไร้ภาพได้อย่างส มบูรณ์ ต้องอยู่ในสภาพเป็นกรดท ี่ม ีค่า pH ในช ่วง 4.5-5.5 และย ังมีก าร
ใช้ก รดบางต ัวเป็นสารช ่วยป้องกันก ารตกตะกอนของน ํ้ายาฟาวน์เทน
ในการพิมพ์บนเครื่องพิมพ์ ระดับค วามเป็นกร ดของน ํ้าย าฟ าวน์เทนอาจเปลี่ยนแปลงได้ เมื่อม ีก ารปนเปื้อน
จากสารต่างๆ ขณะพ ิมพ์ เช่น ขุยกระดาษ สารจ ากห มึกพิมพ์ สารเคลือบผิว ในนํ้าย าฟาว น์เทนจ ึงมักจ ะเติมสารที่เป็น
บัฟเฟอร์ล งไปด้วยเพื่อร ักษาค วามเป็นกรดของนํ้ายาฟาวน์เทนให้มีค่า pH ไม่เปลี่ยนแปลงตลอดก ารใช้ง าน
3.1 กรดในนํ้ายาฟาวน์เทน กรดที่นิยมใช้ในนํ้ายาฟาวน์เทน คือ กรดฟอสฟอริก (phosphoric acid)
กรดซ ทิ รกิ (citric acid) กรดแ ลก็ ตกิ (lactic acid) จงึ ท �ำ ใหน้ ํา้ ย าฟ าว นเ์ ทน มสี มบตั เิ ปน็ กร ด คา่ ค วามเปน็ กร ดทเี่ หมาะส ม
ส ำ�หรับน ำ�ไปใช้พ ิมพ์อ ยู่ร ะหว่าง 4.5-5.5 ซึ่งค ่าค วามเป็นกร ดท ี่ร ะดับน ี้ จะช ่วยเพิ่มป ระสิทธิภาพของ กัมอ าร ะบ ิกในก าร
ทำ�ให้บ ริเวณไร้ภ าพของแ ม่พ ิมพ์รับนํ้าได้ดี จึงช ่วยป ้องกันบ ริเวณไร้ภาพไม่ให้ร ับหมึกพ ิมพ์ได้ดี ช่วยร ักษาแ ม่พิมพ์ให้
สะอาด และล ดค วามเป็นด ่างของนํ้าป ระปา