Page 52 - วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
P. 52
2-40 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีก ารพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
1.2.5 ขน้ั ต อนค ลอรนี ไดอ อกไซด์ เปน็ การน �ำ เยือ่ ท ไี่ ดม้ าฟ อกส คี รัง้ ส ดุ ทา้ ยด ว้ ยก า๊ ซค ลอรนี ไดอ อกไซด์ ซึง่
จะก �ำ จดั ล กิ นนิ ส ว่ นส ดุ ทา้ ยท ยี่ งั เหลอื ค า้ งอ ยอู่ อกไป ท�ำ ใหเ้ สน้ ใยท ไี่ ดส้ ะอาดแ ละม คี วามข าวส วา่ ง (brightness) มากข ึน้
กระบวนการฟ อกเยื่อท ีม่ กี ารใชก้ ๊าซค ลอรีน และค ลอรีนไดอ อกไซด์ จะท ำ�ใหไ้ดส้ ารประกอบค ลอรีนท ีเ่ป็นพ ิษ
ออกม าด ้วย เช่น สารไดอ อกซิน ที่เป็นเทท ระค ลอโรไดเบนโซ-พี-ไดอ อกซ ิน (2,3,7,8 tetrachlorodibenzo-p-dioxin,
TCDD) ซึ่งจ ะป ล่อยม าก ับน ํ้าเสียท ีไ่ดจ้ ากก ารฟ อกเยื่อ ทำ�ใหม้ ผี ลกร ะท บต ่อส ิ่งแ วดล้อมแ ละส ุขอ นามัยข องป ระชาชนท ี่
อาศยั ในบ รเิ วณน ัน้ จงึ ไดม้ กี ารใชก้ า๊ ซโอโซนห รอื ไฮโดรเจนเพอรอ์ อกไซด์ (hydrogen peroxide) แทนก ารใชก้ า๊ ซค ลอรนี
และค ลอรนี ไดอ อกไซด์ กระดาษท ผี่ ลติ ดว้ ยก รรมวธิ ที ไี่ มใ่ ชค้ ลอรนี น ี้ เรยี กว า่ กระดาษไรค้ ลอรนี (chlorine-free paper)
1.3 กรดและเบสในการเตรียมนํ้าเย่ือ ในการเตรียมนํ้าเยื่อจะมีการผสมเยื่อที่เป็นเส้นใยกับสารเติมแต่งอื่น
เพื่อปรับสมบัติของเยื่อ กรดและเบสมีความสำ�คัญในขั้นตอนเตรียมนํ้าเยื่อตรงที่มีการใส่สารกันซึมซึ่งอาจเป็นกรด
หรือเบสเข้าไปเพื่อปรับสมบัติของนํ้าเยื่อให้มีความต้านทานต่อการซึมนํ้าเพิ่มขึ้น จึงได้กระดาษที่มีสมบัติเหมาะสม
กับก ารนำ�ไปใช้พ ิมพ์ได้ด ี ซึ่งก ่อนจ ะใส่ส ารก ันซ ึมผ สมในน ํ้าเยื่อเพื่อไปท ำ�เป็นแ ผ่นกระดาษในเครื่องจักรผ ลิตก ระดาษ
ท�ำ ใหส้ ารก นั ซ มึ แ ทรกเข้าไปอ ยูใ่นเนือ้ ก ระดาษ ความเปน็ กร ด-เบสข องสารก นั ซ ึมท ใี่ ชจ้ ะม ผี ลต ่อค วามเปน็ กร ด-เบสข อง
กระดาษที่ผ ลิตได้ด ้วย โดยกระดาษที่ม ีค ่า pH น้อยก ว่า 7 จะเป็นกร ะด าษท ี่ม ีสมบัติเป็นกรด เรียกว ่า กระดาษแ อซิด
(acid paper) ส่วนกระดาษที่มีค่า pH มากกว่า 7 จะเป็นกระดาษที่มีสมบัติเป็นเบส เรียกว่า กระดาษแอลคาไลน์
(alkaline paper) หรือก ระดาษไร้ก รด (acid-free paper)
สารกันซึมที่มีสมบัติเป็นกรดและมีผลให้กระดาษที่ผลิตได้เป็นกระดาษแอซิด ได้แก่ โรซิน (rosin) และ
อะลูมิเนียมซัลเฟต (aluminium sulfate) หรืออะลัม (alum) สารโรซินและอะลัมที่อยู่ในกระดาษจะทำ�ให้เปลี่ยน
เป็นสีเหลืองและทำ�ให้ความแข็งแรงภายในกระดาษลดลงได้เมื่อเก็บกระดาษไว้ระยะหนึ่ง ส่วนสารกันซึมที่มีสมบัติ
เป็นเบสและมีผลให้กระดาษที่ผลิตได้เป็นกระดาษแอลคาไลน์ ได้แก่ แอลคิลคีทีนไดเมอร์ (alkyl ketene dimer)
หรือแ อลคิลซ ักซิน ิกแ อนไฮไดร ด์ (alkyl succinic anhydride) ซึ่งกระดาษชนิดนี้จ ะค งความขาวสว่างแ ละค วามแข็ง
แรงได้ดีก ว่าก ระดาษแ อซ ิด
2. กรดแ ละเบสในการส รา้ งภ าพบนฟิลม์
2.1 ในก ระบวนการถ า่ ยภ าพง านพ มิ พ ์ จะใชฟ้ ลิ ์มไวแ สงท ีม่ สี ารไวแ สงเป็นซ ิลเวอรแ์ ฮไลด์ โดยซิลเวอรแ์ ฮไลด์
ที่ใช้น ั้นอ าจเป็นซ ิลเวอร์ค ลอไรด์ ซิลเวอร์โบรไมด์ และซ ิลเวอร์ไอโอไดด์ เมื่อซ ิลเวอร์แฮไลด์ได้ร ับแ สงจ ากแ หล่งก ำ�เนิด
แสงในก ารถ า่ ยภ าพต น้ ฉบบั ซลิ เวอรแ์ ฮไลดใ์ นส ว่ นท ไี่ ดร้ บั แ สงจ ะเกดิ เปน็ ภ าพแ ฝง (latent image) อะตอมข องโลหะเงนิ
ซึ่งจ ะย ังเป็นภ าพท ี่ม องไม่เห็นด ้วยต าเปล่า จะต ้องน ำ�ไปผ ่านก ระบวนการส ร้างภ าพ โดยใช้น ํ้ายาส ร้างภ าพ (developer)
ซึ่งมีสมบัติเป็นเบส เพื่อเร่งปฏิกิริยาการสร้างภาพแฝงอะตอมของโลหะเงินบนฟิล์มให้เกิดมากขึ้นจนเห็นเป็นภาพ
บนฟิล์มได้ จากนั้นจึงนำ�ไปผ่านการคงภาพในนํ้ายาคงภาพ (fixer) ซึ่งมีสมบัติเป็นกรด เพื่อหยุดการสร้างภาพและ
คงภ าพอะตอมของโลหะเงินท ี่เกิดข ึ้นให้ถาวรบ นฟ ิล์ม ในน ํ้ายาส ร้างภ าพจะมีต ัวกระตุ้นให้บริเวณที่ม ีภ าพแฝงอ ะตอม
ของโลหะบ นฟ ิล์ม เกิดเป็นภาพผลึกข องโลหะเงินในปริมาณม ากขึ้นเป็นล้านๆ อะตอม จึงทำ�ให้สามารถมองเห็นภ าพ
บนฟิล์มได้ ดังภ าพท ี่ 2.5