Page 49 - วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
P. 49

กรด เบส และ​เกลือ 2-37

ตัด​และ​บด​ชิ้น​ไม้​จน​แหลก​ละเอียด​เป็น​เส้นใย แต่​เยื่อ​ที่​ได้​มัก​ไม่​สมบูรณ์ เนื่องจาก​ไม่​สามารถ​แยก​ส่วน​ที่​เป็น​เส้นใย​
กับส​ ่วน​ที่​ไม่​ไช่เ​ส้นใยไ​ด้ และก​ าร​ผลิตเ​ยื่อว​ ิธี​ทาง​เคมี (chemical pulping process) เป็นการ​ใช้​สาร​เคมีแ​ ละพ​ ลังงาน​
ความ​ร้อนท​ ำ�ให้เ​ส้นใยแ​ ยก​จากก​ ัน เยื่อ​ที่ไ​ด้​จะส​ มบูรณ์​ขึ้น เนื่องจาก​สามารถ​แยกส​ ่วน​ผสมท​ ี่ไ​ม่ใช่​เส้นใย​ออกจ​ ากส​ ่วน​
เส้นใย​ได้ง​ ่าย จึง​สามารถพ​ ัฒนา​ศักยภาพ​เส้นใยใ​ห้ส​ ามารถ​ใช้ง​ านไ​ด้​กว้าง​ขวาง และส​ ามารถค​ วบคุมส​ มบัติเ​ส้นใย​ที่ไ​ด้​
ด้วยก​ าร​ใช้​สารเ​คมี​ชนิดต​ ่างๆ ที่ม​ ี​สมบัติ​เป็นก​รดแ​ ละ​เบส ทำ�ให้​ได้​เยื่อเ​คมีห​ ลายช​ นิดต​ ามส​ าร​เคมี​ที่ใ​ช้ใ​น​การ​ผลิตเ​ยื่อ
เช่น เยื่อโ​ซดา เยื่อซ​ ัลเฟต และเ​ยื่อ​ซัลไ​ฟต์​ดังนี้

            1.1.1	เบสใ​นก​ ารผ​ ลติ เ​ยอ่ื โ​ซดา (soda process) เปน็ ว​ ธิ ด​ี ัง้ เดมิ ข​ องก​ ารผ​ ลติ เ​ยือ่ ว​ ธิ ท​ี างเ​คมี โดยใ​ชโ​้ ซเ​ดยี ม​ -​
ไฮด​ ร​อก​ไซด์ (sodium hydroxide, NaOH) หรือ​ที่​เรียก​ว่า โซดาไฟ (caustic soda) ซึ่ง​เป็น​เบสแ​ ก่ ใช้ได้​ดีก​ ับไ​ม้ท​ ี่​มี​
เรซิน​ตํ่า จึงม​ ักใ​ช้แ​ ยกเ​ส้นใย​จากไ​ม้เ​นื้อแ​ ข็ง วิธี​นี้​จึงเ​ป็นว​ ิธีท​ ี่​ใช้​สาร​เคมี​ที่​เป็น​เบส​และต​ ้องใ​ช้​อุณหภูมิ​และ​ความด​ ัน​สูง​
เพื่อ​ทำ�ให้เ​บสแ​ ก่​เข้าไป​ใน​เนื้อไ​ม้แ​ ละล​ ะลาย​ลิก​ นิน​ อ​อกม​ าไ​ด้ อย่างไร​ก็ตาม การร​ ักษา​ความเ​ข้มข​ ้นข​ อง​สาร​เคมีใ​ห้ค​ งที่​
ตลอด​การ​ผลิตเ​ยื่อท​ ำ�ได้ย​ าก จึง​อาจม​ ีผ​ ลใ​ห้การแ​ ยก​เส้นใยจ​ าก​เนื้อไ​ม้ไ​ม่ส​ มบูรณ์​ไม่​เต็ม​ที่​นัก

            1.1.2	เบสใ​นก​ ารผ​ ลติ เ​ยอ่ื ซ​ ลั เฟต (sulfate process) เป็นว​ ิธที​ ีพ่​ ัฒนาม​ าจ​ ากว​ ิธผี​ ลิตเ​ยื่อโ​ซดาจึงเ​ป็นว​ ิธที​ ีใ่​ช​้
แส(rลาeระp​เท​lคeำ�มnใหี​ทisเ้​ี่​เhกป)ิด็นใป​​เนบฏ​สสิกา​เริรหลิยมะาือเ​ลปนาลก​ยี่ยับเนพว​ เ​ิธรปีผ​า็นะลโ​ใ​ิตซนเ​​เข​ดยั้นียื่อต​ม​โ​ซอซดนัลาผ​ไ​ฟโลดดิตย์เ​(ยช​s่ืว่อoงd​ว​เิธiรuี​ใิ่มmช​ข้​เยั้นsื่อuต​ โ​lอfซiนdด​จeา,ะท​ ​ใNี่ใ​ชชa้โ​้​แซ2Sตเด)่​โซียซ​เึ่มงดเ​ซปียัล็น​มเส​ไฟฮาตร​ดท​ร(sีท่​​อoำ�กdหไ​iนซuด้าmท์น​ ีเ่​ั้นปsu็นปlส​fรaาิมtรeาเ​,สณNร​โิมซaช​เ​2ดดSียOเช​ม4ย-)​
ไฮดร​อก​ไซด์​จะ​ถูก​ใช้​หมด​ไป​เรื่อยๆ ใน​การ​แยก​เส้นใย​ออก​จากเนื้อ​ไม้ อาจ​ทำ�ให้​การ​แยก​เส้นใย​ออก​จาก​เนื้อ​ไม้​ได้​
ไม่เ​ต็มท​ ี่ เส้นใยท​ ี่ไ​ด้จ​ ะแ​ ยกเ​นื้อไ​ม้ไ​ด้ไ​ม่ท​ ั้งหมด แต่เ​มื่อเ​ติมโ​ซเ​ดียม​ ซัลไ​ฟด์ล​ งไ​ป จะท​ ำ�ป​ ฏิกิริยาก​ ับน​ ํ้า จะไ​ด้โ​ซเ​ดียม​ -​
ไฮ​โดรซัล​ไฟด์ (sodium hydrosulfide, NaHS) และ​โซ​เดีย​มไฮ​ดร​อก​ไซด์ ทำ�ให้​มี​โซ​เดีย​มไฮ​ดร​อก​ไซด์​เพิ่ม​เติม​ขึ้น
ดัง​สมการ​ข้างล​ ่างน​ ี้ จึง​ทำ�ให้​สามารถ​ควบคุม​ความ​เข้ม​ข้นข​ อง​โซเ​ดียม​ ไฮด​ รอ​ ก​ไซด์ใ​น​ระดับ​คงที่ เพื่อ​ใช้​แยก​เส้นใย​ได​้
อย่าง​ต่อเ​นื่อง​ตลอดกระบวนการ

Na2S + H2O  NaHS + NaOH

            เยือ่ ซ​ ลั เฟตท​ ไี​่ ดจ​้ ะม​ ค​ี วามแ​ ขง็ แ​ รงม​ ากกวา่ เ​ยือ่ โ​ซดา กระดาษท​ ผี​่ ลติ จ​ ากเ​ยือ่ ซ​ ลั เฟตม​ กั จ​ ะเ​รยี กว​ า่ ค​ ราฟท์
(kraft) ซึ่ง​หมาย​ถึง​ความ​แข็ง​แรง ใน​ภาษา​เยอรมัน​และ​ภาษา​สวีเดน กระดาษ​ชนิด​นี้​จะ​ใช้​เป็นก​ระ​ดาษ​ห่อ​ของ และ​
บรรจุภ​ ัณฑ์ ที่ต​ ้องการค​ วาม​แข็งแ​ รง​เป็น​พิเศษ แต่เ​ยื่อ​ซัลเฟตน​ ี้ม​ ักจ​ ะไ​ม่ส​ ามารถ​ฟอก​ให้​ขาวไ​ด้ หาก​ต้องการฟ​ อก​เยื่อ​
ให้​ขาว​จะ​ต้อง​ใช้​วิธี​การฟ​ อก​เยื่อห​ ลายข​ ั้น​ตอน ซึ่ง​ต้องเ​สียค​ ่าใ​ช้​จ่ายส​ ูง​มาก

            1.1.3	กรดใ​นก​ ารผ​ ลติ เ​ยอ่ื ซ​ ลั ไ​ฟต์ (sulfite process) เปน็ ว​ ธิ ก​ี ารแ​ ยกเ​สน้ ใยจ​ ากเ​นือ้ ไ​มด​้ ว้ ยก​ ารใ​ชส​้ ารเ​คมท​ี ​ี่
เแปลน็ ะก​เกร​ลดือซ​ขึง่ อแ​งต​กกรต​ดา่ งอจ​าาจก​เปเ​ย็นือ่ ​เโ​กซลดือาแ​แ​ คลละเ​เยซือ่ียซ​มลั เเกฟลตือส​โซารเดเ​คียมมท​ี เเี​่ กปลน็ ือกร​แดมกไดนแ้ ีเซกีย่ กมรดหซ​รลัือฟเ​กวิ ลร​ือสั ​แ(อsuมlโpมhเนurียouซsึ่ง​ทacำ�​ปidฏ,ิกHิร2ิยSาOก​ 3ัน)​
ไจดะช​แ้​ ว่คยลใ​เหซลี​ย้ ะมลไ​บายซล​ัลก​ิ ไ​ฟนนิตใ​์ [นcเ​aสlนc้ iใuยmไ​ดbด​้ iีsเยuืlอ่ fiก​teร,ะดCาaษ(Hท​ Sไี​่ ดOม​้ 3กั)2ใ​]ชกท​้ า�ำรเ​ท​ปีส่​น็ ากรร​ละะด​ลาาษยป​ม​อที​นั้งดก​ ข​์ราดวซ​ ทัลเี​่ฟริวยี ร​กัสว​ า่กซับลัแ​ ไ​คฟลตเซบ​์ ียอมนไ​ดบ์ ซ(sัลuไ​lฟfitตe​์
bond) แม้ว่าว​ ิธผี​ ลิตเ​ยื่อซ​ ัลไ​ฟตเ์​คยไ​ดร้​ ับค​ วามน​ ิยมส​ �ำ หรับก​ ารผ​ ลิตเ​ยื่อด​ ้วยว​ ิธที​ างเ​คมี แตก่​ ย็​ ังม​ ขี​ ้อเ​สียต​ รงท​ ีส่​ ารเ​คม​ี
ที่​เป็นก​รด​จะท​ ำ�ลาย​โครงสร้าง​ภายใน​เส้นใย ทำ�ให้​ได้​เยื่อ​ที่​ไม่​แข็งแ​ รง และ​วิธี​นี้​จึง​ไม่​เหมาะ​กับ​การ​แยก​เส้นใย​จาก​ไม้​
เนื้อ​อ่อน (softwood) ที่ม​ ีป​ ริมาณ​เรซิน​สูง ทั้งย​ ังส​ ร้างป​ ัญหา​ด้าน​สิ่ง​แวดล้อม ปัจจุบัน​จึง​ใช้​วิธีน​ ี้​น้อยล​ ง

         ปริมาณ​เส้นใย​ที่​ได้​จาก​เยื่อ​เคมี​ประมาณ​ร้อย​ละ 50 ของ​เนื้อ​ไม้ เยื่อ​เคมี​ที่​ผลิต​จาก​ไม้​เนื้อ​อ่อน เช่น ​
  ไม้ป​ ระเภท​สน จะม​ ี​เส้นใย​ยาว​และห​ นา​กว่า​เยื่อ​เคมี​ที่ผ​ ลิตจ​ ากไ​ม้เ​นื้อแ​ ข็ง เช่น ไม้​ประเภทผ​ ลัดใ​บ ดัง​ภาพ​ที่ 2.3
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54