Page 50 - วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
P. 50
2-38 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีก ารพิมพ์และบ รรจุภัณฑ์
จึงท ำ�ให้ก ระดาษท ี่ผ ลิตจ ากเยื่อเคมีจ ากไม้เนื้ออ ่อนม ีค วามแ ข็งแ รงก ว่าเยื่อเคมีจ ากไม้เนื้อแ ข็ง แต่เส้นใยส ั้นข อง
เยื่อเคมีจ ากไม้เนื้อแ ข็งทำ�ให้ก ระดาษมีผ ิวหน้าเรียบมากกว่า ปัจจุบันจึงม ักจะใช้เยื่อเคมีจ ากไม้เนื้ออ่อนแ ละไม้
เนื้อแ ข็งผ สมก ันในส ัดส่วนต ่างๆ เพื่อให้ก ระดาษที่ผ ลิตได้มีสมบัติท ี่ดีจ ากเยื่อทั้งสองช นิดน ั้น
ก. ข.
ภาพท่ี 2.3 เยือ่ เคมี ก. ผลิตจ ากไม้เนอื้ อ่อน ข. ผลติ จากไมเ้ นอื้ แข็ง
ทม่ี า: Charles Finley, 1997: 49-50.
1.2 กรดแ ละเบสในก ารฟ อกเยอื่ เยือ่ ก ระดาษท ไี่ ดจ้ ากก ารผ ลติ เยือ่ เคมมี กั จ ะย งั ม สี นี ํา้ ตาล เนือ่ งจากจ ะย งั เหลอื
ลกิ นนิ บางส ่วนอ ยใู่ นเสน้ ใย เพราะห ากใชค้ วามเขม้ ข น้ ข องส ารเคมมี ากถ ึงจ ุดท ีส่ ามารถก �ำ จดั ล กิ นนิ ออ กไปไดจ้ ากเสน้ ใย
ทั้งหมด เส้นใยเซลลูโลสก็จ ะย่อยสลายไปด้วย หากต ้องการให้เยื่อก ระดาษมีส ีข าวเหมาะก ับการนำ�ไปใช้พ ิมพ์ จะต ้อง
ผ่านก ารฟ อกเยื่อ (bleaching) ซึ่งมีว ิธีก าร 2 วิธี คือ การกำ�จัดล ิก นิน ออกจ ากเส้นใย และก ารเปลี่ยนสีล ิก นินให้เป็น
ลิก นินที่ไม่มีสี เดิมสารเคมีท ี่ใช้ในก ารฟ อกเยื่อ คือ แคลเซียมไฮโปค ลอไรต์ [calcium hypochorite, Ca(OCl)2] ใน
การฟอกเยื่อโซดาและเยื่อซัลไฟต์ให้ขาวสามารถทำ�ได้ด้วยการฟอกเยื่อด้วยแคลเซียมไฮโปคลอไรต์ในขั้นตอนเดียว
แต่สำ�หรับเยื่อซัลเฟต การใช้แคลเซียมไฮโปคลอไรต์อย่างเดียวไม่สามารถฟอกเยื่อให้ขาวได้ จึงต้องใช้การฟอกเยื่อ
แบบห ลายข ัน้ ต อน (multistage bleaching) ทมี่ กี ารก �ำ จดั ล กิ นนิ แ ละส ว่ นป ระกอบอ ืน่ ท ไี่ มต่ อ้ งการอ อก รวมท ัง้ ก ารก �ำ จดั
สีข องเยื่อให้เป็นส ีข าว ซึ่งก ระบวนการฟ อกเยื่อแ บบน ี้ป ระกอบด ้วย 5 ขั้นต อน คือ คลอร ิเนช ัน (chlorination) แอลค า-
ไลน์เอกซ์แทรกชัน (alkaline extraction) ไฮโปคลอไรต์ (hypochlorite) แอลคาไลน์เอกซ์แทรกชัน และคลอรีน
ไดออกไซด์ (chlorine dioxide) ซึ่งในก ารฟอกเยื่อนี้จ ำ�เป็นต้องใช้กรดและเบสในขั้นต อนต ่างๆ ดังนี้