Page 44 - วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
P. 44
2-32 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการพ ิมพ์และบ รรจุภัณฑ์
(ตกวั ำ�อหยน่าดงทค ่ี่า2น.8ํ้าหกนำ�หักนอ ะดตใหอม้ KMspgขอ=ง2M4.g3F, 2Fเ=ท่า9ก)ับ 8.0 × 10—8 เกลือนี้ละลายได้ก ี่ก รัมในน ํ้า 250 ลูกบาศก์เซนติเมตร
วธิ ที �ำ สมดุลของสารละลายอ ิ่มต ัวของ MgF2 คือ
MgF2 Mg2+ + 2F—
สมมติใ ห้ MgF2 ที่ล ะลาย Ksp == x [Mgโ2ม+ล][ตF—่อ]ลิตร
∴[Mg2+] = x โมลต ่อล ิตร
[F—] = 2x โมลต่อลิตร
แทนค ่า
8 × 10—8 = (x)(2x)2
4x3 = 8 × 10—8
x3 = 2 × 10—8
= 20 × 10—9
x = 3 20 × 10—9
= 3 ×10—3 (เมื่อ 3 20 ≈ 3 )
MใในนgสสFาารร2ลลมะะีคลลวาาายยมMMเขgg้มFFข 22้น1235,00×00ล1ูก0ลบ—ูก3าบศโามกศล์เกซต์เนซ่อตนลิเิตตมริเตมหรตมมราีมยMีคMgวFgา2มFวล2่าะลละาลยาอยยอู่ ย ู่ == 33
× 1100——33 โมล โมล
× × 250
1,000
นํ้าห นักโมเลกุลของ MgF2 = 24.3 + (19 × 2) = 62.3
∴ จะม ี MgF2 อยู่ = 62.3 × 3 × 10—3 × 250 กรัม
1,000
= 0.05 กรัม
2. ปฏิกริ ิยาการต กตะกอน
เกลือท ลี่ ะลายน ํา้ ไดน้ อ้ ยจ ะม ไีอออนข องเกลอื ห ลงเหลืออ ยูใ่ นส มดลุ ก ับเกลอื ท ลี่ ะลาย กล่าวค อื จะม ที ัง้ ไอออน
ของเกลือท ี่ล ะลายแ ละไม่ล ะลายอยู่ปนกัน ภาวะเช่นนี้เรียกว ่า สารละลายอิ่มต ัว และผลคูณของไอออนจ ะเท่ากับ ค่า
Ksp เสมอ ค่า Ksp ของเกลือใดๆ จะเป็นต ัวบ ่งช ี้ที่ใช้ในก ารท ำ�นายว ่าสารละลายของเกลือน ั้นจะต กตะกอนหรือไม่
ถ้าค ่า Ksp มากกว่าค ่าผลคูณของไอออน ซึ่งคือผลค ูณของค วามเข้มข ้นข องไอออนแต่ละชนิดในสารละลาย
ยกกำ�ลังด้วยสัมประสิทธิ์บอกจำ�นวนโมลข องไอออนนั้น สารละลายน ั้นจะไม่ต กตะกอน
ถ้าค่า Ksp เท่ากับผ ลคูณของไอออน สารละลายจ ะอ ยู่ในสภาพอิ่มตัว จะย ังไม่ตกต ะกอน แต่อยู่ในสภาพที่
เริ่มต กตะกอน
ถ้าค่า Ksp น้อยก ว่าผลค ูณของไอออน จะทำ�ให้สารน ั้นต กตะกอน ซึ่งสรุปได้ดังนี้