Page 57 - วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
P. 57

กรด เบส และ​เกลือ 2-45

                                                                  พรีพอลิเมอร์ที่มีนํ้าหนักโมเลกุลตํ่า
                                                                      (1,000-5,000 ดาลตัน)

กรดแล็กติกชนิด D                ปฏิกิริยาการควบแน่นโดยตรง                                              พอลิแล็กติกแอซิด
กรดแล็กติกชนิด L            ปฏิกิริยาการควบแน่นแบบอะซิโอโทรปิก

                              การสังเคราะห์ผ่านการเกิดแล็กไทด์
                                                              การเปิดวง
                                                             ของแล็กไทด์

                            พรีพอลิเมอร์ที่มีนํ้าหนักโมเลกุลตํ่า  แล็กไทด์
                                (1,000-5,000 ดาลตัน)

ท่มี า:	 อมรรัตน์ 2554: 99  ภาพท​ ่ี 2.7 การ​สงั เคราะห​์พอ​ลแ​ิ ล็กต​ กิ ​แอซ​ ดิ ​จาก​กรดแ​ ล็​กตกิ

       พอล​ ิ​แล็ก​ติกแ​ อ​ซิด เป็นเ​ท​อร์โ​ม​พลาสติก มี​ลักษณะ​ใส และ​มี​ความ​มัน​วาวส​ ูง มีค​ วาม​สามารถ​ในการ​สกัดก​ ั้น​
การซ​ มึ ผ​ า่ นข​ องก​ า๊ ซอ​ อกซเิ จน กา๊ ซค​ ารบ์ อนไดออกไซด์ และค​ วามชืน้ ไ​ดร​้ ะดบั ห​ นึง่ และมคี วามค​ งทนต​ อ่ ก​ ารก​ ระแทกต​ ํา่ ​
ใช้ท​ ำ�บ​ รรจุ​ภัณฑ์​ที่ใ​ช้​ครั้งเ​ดียว เช่น ขวด​นํ้า กล่องใ​ส่​สลัด ฟิล์ม​สำ�หรับหีบห่อ สารเ​คลือบภ​ าชนะ​กระดาษ สามารถ​แตก​
สลาย​ได้​ทางช​ ีวภาพ

       นอกจากพ​ อล​ ิแ​ ล็กต​ ิกแ​ อซ​ ิดแ​ ล้ว ยังม​ ี​พลาสติกท​ ี่แ​ ตกส​ ลายไ​ด้​ทาง​ชีว​ภาพ​ อื่นๆ ที่​สังเคราะห์ข​ ึ้น​จากกรด เช่น​
พอ​ลิ​บิวทิ​ลีน​ซัก​ซิ​เนต (polybutylene succinate, PBS) สังเคราะห์​จาก​ปฏิกิริยา​การ​ควบแน่น​ของกรด​ซัก​ซิ​นิก
(succinic acid) และ 1,4 -บิว​เทน​ได​ออล (1,4 - butanediol) พอล​ ิ​ไตร​เมทิลี​นเ​ทอฟท​ าเ​ลต (polytrimethylene
terephthalate, PTT) สังเคราะห์​ขึ้น​จาก​ปฏิกิริยา​การ​ควบแน่น​ของกรด​เทอเรพ​ทา​ลิก (terephthalic acid) กับ​
​ไตรเ​มทิลี​น​ไกลค​ อล (trimethylene glycol)

       4.2	กรด​ใน​การ​ผลิต​ฟิล์ม​บริโภค​ได้   ฟิล์ม​บริโภค​ได้ (edible filem) คือ ฟิล์ม​ที่​ใช้​เป็น​ส่วนประกอบ​ของ​
อาหาร ใช้​เพื่อ​เคลือบห​ รือห​ ่อห​ ุ้มอ​ าหารโ​ดยตรง หรือเ​คลือบ​บรรจุภ​ ัณฑ์​ชั้นใ​น (primary packaging) เช่น กระดาษ​
ฟลิ ม์ พ​ ลาสตกิ ทสี​่ มั ผสั ก​ บั อ​ าหาร โดยม​ ว​ี ตั ถปุ ระสงคเ​์ พือ่ ล​ ดก​ ารส​ ญู เ​สยี ค​ วามชืน้ ลดป​ ฏกิ ริ ยิ าก​ บั อ​ อกซเิ จนแ​ ละล​ ดอ​ ตั รา​
การ​หายใจ​ของ​ผัก​ผล​ไม้ จึง​ช่วย​ยืด​อายุ​การ​เก็บ​รักษา​อาหาร ฟิล์ม​ชนิด​นี้​ยัง​สามารถ​รับ​ประทาน​ได้​และ​แตก​สลาย​ได้​
ตาม​ธรรมชาติ จึง​เป็น​ทาง​เลือก​ใหม่​ของ​วัสดุ​ทาง​ภาชนะ​บรรจุ​ที่​จะ​มี​บทบาท​ยิ่ง​ขึ้น​ใน​อนาคต ฟิล์ม​บริโภค​ได้​ผลิต​ได้​
จาก​วัตถุดิบห​ ลายช​ นิด ได้แก่

       ฟลิ ม์ จ​ ากค​ ารโ์ บไฮเดรตผลติ จ​ ากส​ ต​ ารช์ (starch)เชน่ แปง้ ข​ า้ วเ​จา้ แปง้ ข​ า้ วเ​หนยี วแปง้ ม​ นั ส​ �ำ ปะห​ ลงั แปง้ ด​ ดั แ​ ปร​
(modified starch) เพกท​ ิน (pectin)
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62