Page 38 - การวิจัยเบื้องต้นทางสารสนเทศศาสตร์
P. 38

5-28 การวิจัยเบื้องต้นทางสารสนเทศศาสตร์

ในแต่ละเน้อื หาย่อย ถ้าผูว้ ิจยั ตอ้ งการแบ่งย่อยในละสาขาอีกก็สามารถท�ำ ได้ เช่น
(.....) ฟิสกิ ส์
	 (......) กลศาสตร์ของแข็ง	 (......) กลศาสตรข์ องเหลว	 (......) กลศาสตรแ์ กส๊ 	
	 (......) เสยี ง	                       (......) แสง	   (......) ความร้อน
	 (......) ไฟฟา้ /อเิ ลก็ ทรอนิกส	์ (......) แมเ่ หล็ก	  (......) ฟสิ กิ สย์ คุ ใหม/่ ฟสิ กิ สน์ วิ เคลยี ร์

เรอ่ื งที่ 5.1.3
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมอื การวจิ ัย

       เครื่องมือการวิจัยทุกชนิด เมื่อสร้างเสร็จแล้วต้องมีการตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือนั้นก่อนเก็บรวบ
รวมข้อมูลจริง เพื่อเป็นหลักประกันว่าเป็นเครื่องมือที่มีคุณภาพ เพื่อข้อมูลที่ได้กลับมาจะมีคุณภาพด้วย สามารถนำ�
ไปวิเคราะห์ได้ผลสรุปที่มีความน่าเชื่อถือสูง นำ�ไปใช้ประโยชน์ได้ผลจริง เครื่องมือการวิจัยโดยทั่วไปมีการตรวจสอบ
คุณภาพที่สำ�คัญ 2 เรื่องคือ ความตรงและความเที่ยง

1. 	การตรวจสอบความตรงของเครอื่ งมือการวจิ ยั

       การตรวจสอบความตรง คือการตรวจสอบว่าเครื่องมือการวิจัยที่สร้างขึ้นนั้นสามารถวัดได้ตรงตาม
วัตถุประสงค์ของการวิจัยครั้งนั้นหรือไม่ ความตรงที่นิยมตรวจสอบมี 2 ประการคือ 1) ความตรงเชิงประจักษ์ (face
validity) คือเครื่องมือการวิจัยนั้นอ่านแล้วมีความเข้าใจได้ตรงกันหรือไม่ มีการใช้ภาษากำ�กวมหรือไม่ 2) ความ
ตรงเชิงโครงสร้าง (structure validity) คือ เครื่องมือการวิจัยนั้นข้อคำ�ถามที่ถามครอบคลุมเนื้อหาที่ต้องการถาม
แล้วหรือไม่ เนื้อหาในเครื่องมือการวิจัยนั้นครอบคลุมกับนิยามปฏิบัติการที่กำ�หนดไว้ หรือเนื้อทั้งหมดในเครื่องมือ
การวิจัยนั้นตอบวัตถุประสงค์การวิจัยครบถ้วนหรือไม่ วิธีการหาคุณภาพความตรงทั้ง 2 ด้านโดยทั่วไปใช้วิธีการให้	
ผู้เชี่ยวชาญช่วยตรวจสอบ ซึ่งดำ�เนินการ ดังนี้

       1.1 	ผู้วิจัยปรึกษากับอาจารย์ที่ควบคุมการวิจัยเพื่อพิจารณาเชิญผู้เชี่ยวชาญมาช่วยตรวจสอบ ผู้เชี่ยวชาญ
ควรเป็นผู้ที่มีความรู้ในประเด็นที่วิจัยเป็นอย่างดี จำ�นวนที่จะเชิญมาควรเป็นเลขคี่ไม่น้อยกว่า 3 คน เมื่อได้รายชื่อ	
ผู้เชี่ยวชาญแล้ว ผู้วิจัยควรติดต่ออย่างไม่เป็นทางการ หากได้รับการตอบรับ จึงดำ�เนินการทำ�หนังสือเชิญเป็นทาง	
การพร้อมหนังสือเชิญอีกครั้งหนึ่ง ผู้วิจัยต้องแนบโครงการวิจัยที่ประกอบด้วยรายละเอียด 3 บท คือ บทนำ� เอกสาร
และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และวิธีดำ�เนินการวิจัย ไปพร้อมกับแบบสอบถามด้วย เพื่อที่ผู้เชี่ยวชาญจะได้อ่านเค้าโครง
การวิจัยให้เข้าใจและทราบวัตถุประสงค์ของการวิจัยได้ชัดเจน จะได้พิจารณาว่าเครื่องมือการวิจัยนั้นมีความตรงเชิง
ประจักษ์ และความตรงเชิงโครงสร้างแล้วหรือไม่ ถ้ายังควรมีการปรับแก้ความตรงในประเด็นใดบ้าง

       1.2 	วิธีการให้ผู้เชี่ยวชาญพิจารณาเครื่องมือการวิจัยคือ ให้ผู้เชี่ยวชาญตอบว่าข้อคำ�ถามต่างๆ ในเครื่องมือ
การวิจัยนัน้ ใช้ถามได้ตรงตามวัตถุประสงคข์ องการวิจัยหรือไม่ โดยมีตวั เลอื กให้ 3 ตวั คือ ใช้ได้ ใช้ไมไ่ ด้ ควรปรบั ปรุง
เมื่อได้รับแบบสอบถามกลับมาแล้วน�ำ มาคำ�นวณหาค่าไอโอซี (IOC -- Index of Item Objective Congruence) โดย
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43