Page 40 - การวิจัยเบื้องต้นทางสารสนเทศศาสตร์
P. 40

5-30 การวิจัยเบื้องต้นทางสารสนเทศศาสตร์

       3.2 	การตรวจสอบคุณภาพของแบบสัมภาษณ์
            3.2.1 	แบบสัมภาษณ์ท่ีมีโครงสร้าง ใช้วิธีการเดียวกับแบบสอบถามคือ หาค่าความตรงและค่าความ

เที่ยง
            3.2.2 	แบบสัมภาษณ์ท่ีไม่มีโครงสร้าง ใช้วิธีการหาค่าความตรงเพียงอย่างเดียว โดยให้ผู้เชี่ยวชาญ

พิจารณาข้อคำ�ถามที่จะนำ�ไปสัมภาษณ์ว่าตรงประเด็นและครอบคลุมปัญหาวิจัยหรือไม่
       3.3 	การตรวจสอบคุณภาพของแบบบันทึกข้อมูล แบบบันทึกข้อมูลเป็นเครื่องมือที่ส่วนใหญ่ใช้ในการวิจัย

การวิเคราะห์เอกสาร ซึ่งการวิจัยรูปแบบนี้ผู้วิจัยดำ�เนินการด้วยตนเอง แต่ก่อนที่จะนำ�แบบบันทึกข้อมูลไปใช้ ผู้วิจัย
ต้องมั่นใจว่าตนเองนั้นบันทึกได้อย่างมีความเที่ยง หมายความว่าหากมีผู้อื่นน�ำ แบบบันทึกข้อมูลนี้ไปพิจารณากับสิ่งที่
จะวิเคราะห์วิจัย แล้วนำ�ข้อมูลจากสิ่งนั้นมาบันทึก จะต้องได้ผลออกมาเหมือนหรือคลาดเคลื่อนจากผู้วิจัยน้อยที่สุด
การตรวจสอบคุณภาพของแบบบันทึกข้อมูลจึงเป็นการหาความเที่ยงในการบันทึก ขั้นตอนในการหาความเที่ยงในการ
บันทึกเป็น ดังนี้

            3.3.1 	ผู้วิจัยเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีความรู้ในเรื่องที่จะวิจัย 3-5 คนมาร่วมทดลองบันทึกข้อมูลจากกลุ่ม
ตัวอย่าง (ส่วนใหญ่เป็นเอกสาร เช่น วิทยานิพนธ์ งานเขียนของนักเขียนคนใดคนหนึ่ง) ลงในแบบบันทึกข้อมูลที่สร้าง
ขึ้นไว้

            3.3.2 	ผู้วิจัยเลือกกลุ่มตัวอย่างที่มีข้อมูลแตกต่างกันมาสัก 5-10 เรื่อง แล้วให้ผู้เชี่ยวชาญที่เชิญมานำ�
ไปอ่าน แล้วบันทึกข้อมูลลงในแบบบันทึกข้อมูล

            3.3.3 	ผู้วิจัยเองอ่านเรื่องทั้ง 5-10 เรื่องนั้นและบันทึกลงในแบบบันทึกข้อมูลเช่นกัน
            3.3.4 	นำ�แบบบันทึกข้อมูลของผู้เชี่ยวชาญมาเปรียบเทียบกับแบบบันทึกข้อมูลของผู้วิจัยว่าแบบ	
บันทึกข้อมูลของผู้วิจัยมีความสอดคล้องกับผู้เชี่ยวชาญเป็นส่วนใหญ่หรือไม่ ถ้าแบบบันทึกข้อมูลในข้อต่างๆ ตรงกัน
กับผู้เชี่ยวชาญส่วนใหญ่เกินร้อยละ 90 ถือว่าการบันทึกข้อมูลของผู้วิจัยมีความเที่ยง
       ตัวอย่างเช่น การวิจัยเรื่อง “การวิเคราะห์เนื้อหาสารานุกรมไทยสำ�หรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ใน
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ท่ีสอดคล้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พ.ศ. 2551 ช้ันมัธยมศึกษาตอนต้น” ผู้วิจัยได้หาค่าความเที่ยงในการบันทึกโดยการเชิญผู้เชี่ยวชาญ 3 คน เป็นครู
สอนวิทยาศาสตร์ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น 2 คน จากต่างโรงเรียนกัน และนักวิชาการจากสถาบันส่งเสริมการ
สอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 1 คน มาทดลองบันทึกจากการพิจารณาเนื้อหาจากสารานุกรม 20 เรื่อง ทั้งที่มีเนื้อหา
สอดคลอ้ งและไมส่ อดคลอ้ งกบั สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ตามรปู แบบบนั ทกึ ขอ้ มลู ในเรอื่ ง
ที่ 5.1.2 ข้อ 3.3 โดยนำ�ผลการบันทึกของผู้เชี่ยวชาญมาเปรียบเทียบกับของผู้วิจัยเอง พบว่ามีความสอดคล้องกันกับ	
ผู้เชี่ยวชาญส่วนใหญ่ร้อยละ 96.07 ซึ่งแสดงว่าแบบบันทึกข้อมูลและการบันทึกมีคุณภาพสูง เชื่อถือได้

  กิจกรรม 5.1.3	
         1. 	 ถา้ วจิ ัยเร่ือง “การใช้ฐานขอ้ มลู และปัญหาการใช้ฐานข้อมลู ท่ีให้บริการในองคก์ ารสารสนเทศ ของ

  นกั ศกึ ษาปริญญาตรี มหาวิทยาลยั ราชภัฏ (แหง่ หนึ่ง)” เครอ่ื งมือการวจิ ัยทีเ่ ป็นแบบสอบถาม ทา่ นจะมวี ิธีการหา
  คา่ ความตรงของแบบสอบถามอยา่ งไร จงอธิบาย

         2. 	 ถ้าวิจัยเรื่อง “การวิเคราะห์บทความในวารสารวิทยาศาสตร์ ของสมาคมวิทยาศาสตร์แห่ง
  ประเทศไทยท่ตี ีพิมพ์ระหว่างปี 2534-2553” เครือ่ งมอื การวจิ ัยคือ แบบบันทึกข้อมูล ทา่ นจะมวี ธิ กี ารหาคา่ ความ
  เท่ียงของแบบบนั ทกึ ขอ้ มลู อยา่ งไร จงอธิบาย
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45