Page 41 - การวิจัยเบื้องต้นทางสารสนเทศศาสตร์
P. 41

เครื่องมือการวิจัยและการเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อการวิจัย 5-31

แนวตอบกิจกรรม 5.1.3
       1. 	 ถา้ วิจัยเรือ่ ง “การใชฐ้ านข้อมูลและปญั หาการใชฐ้ านขอ้ มูลทใ่ี หบ้ ริการในองคก์ ารสารสนเทศ ของ

นกั ศึกษาปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภฏั (แหง่ หนึง่ )” เครอ่ื งมอื การวจิ ัยเปน็ แบบสอบถาม การหาค่าความตรง
ของแบบสอบถามมวี ธิ กี าร ดงั น้ี

            1.1 	การตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาและความตรงเชิงโครงสรา้ ง วิธีการคือใช้ผู้เชี่ยวชาญที่มี
ความรใู้ นประเด็นทว่ี จิ ยั เปน็ อยา่ งดี จำ�นวน 3 คน อาจเป็นหัวหน้าฝา่ ยบรกิ ารฐานข้อมลู ขององคก์ ารสารสนเทศ
ในมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นนั้ หวั หน้าฝ่ายบรกิ ารฐานข้อมลู ขององคก์ ารสารสนเทศในมหาวิทยาลยั ราชภฏั แหง่ อ่นื
ทใ่ี หบ้ รกิ ารฐานขอ้ มลู ในลกั ษณะคลา้ ยกนั และอาจารยผ์ สู้ อนในสาขาสารสนเทศศาสตรใ์ นมหาวทิ ยาลยั แหง่ นนั้
1 คน โดยผูว้ ิจัยจดั สง่ โครงการวจิ ัยและแบบสอบถามไปใหผ้ ู้เชย่ี วชาญท้ัง 3 คน ผู้เชย่ี วชาญจะอา่ นโครงการวิจยั
เพอื่ ท�ำ ความเขา้ ใจในประเดน็ วจิ ยั ใหช้ ดั เจน แลว้ จะพจิ ารณาแบบสอบถามมคี วามตรงเชงิ ประจกั ษห์ รอื ไม่ มคี วาม
ตรงเชงิ โครงสร้างหรือไม่ ในแบบสอบถาม ท้ายขอ้ คำ�ถามแตล่ ะขอ้ มชี อ่ งวา่ งให้ผู้เชยี่ วชาญตอบวา่ ใชไ้ ด้ ใชไ้ มไ่ ด้
ควรปรบั ปรุง

            1.2 	เม่ือได้รับแบบสอบถามกลับมาแล้วคำ�ตอบของผู้เชี่ยวชาญนำ�มาคำ�นวณหาค่าไอโอซี โดย
พิจารณาให้คะแนนคำ�ตอบดังนี้ ใช้ได้ = 1 คะแนน ใช้ไม่ได้ = -1 คะแนน และควรปรับปรุง = 0 คะแนน นำ�
คะแนนของคำ�ตอบแต่ละข้อมารวมกันแลว้ หารด้วยจ�ำ นวนผเู้ ชี่ยวชาญ เปน็ ค่าไอโอซี ซึ่งถา้ ได้คา่ ต้งั แต่ 0.50 ข้ึน
ไปถอื ว่าขอ้ คำ�ถามนั้นมีคา่ ความตรงผ่านเกณฑ์ สามารถใช้เป็นขอ้ คำ�ถามได้

       2. 	 การหาค่าความเทีย่ งของเคร่ืองมือการวจิ ัยท่ีเปน็ แบบบันทึกขอ้ มลู มวี ธิ กี าร ดงั น้ี
            2.1 	ศึกษาวัตถุประสงค์การวิจัยว่าจะวิเคราะห์อะไร คือวิเคราะห์เนื้อหาของบทความซ่ึงเป็น

บทความในวารสารวทิ ยาศาสตร์ แสดงว่าบทความทตี่ พี มิ พน์ นั้ ตอ้ งอยใู่ นสาขาใดสาขาหนง่ึ ของวชิ าวทิ ยาศาสตร์
ผู้วิจัยต้องศึกษาว่าวิชาวิทยาศาสตร์โดยทฤษฎีมีการแบ่งเป็นสาขาย่อยอะไรบ้าง อาจค้นคว้าจากเอกสารของ
ยเู นสโก หรอื ในสาขาสารสนเทศศาสตร์ อาจยดึ การแบ่งหมู่ในหมวด 500 ของระบบทศนิยมดิวอีเ้ ปน็ หลักกไ็ ด้

            2.2 	เม่ือได้สาขาย่อยของวิทยาศาสตร์มาแล้ว นำ�มาออกแบบโดยจัดชื่อสาขาลงในแบบบันทึก
ขอ้ มูลให้เหมาะสมกับการจะวิเคราะหต์ ่อไป แบบบันทกึ ข้อมูลอาจมีลกั ษณะ ดังน้ี

     ชื่อบทความ	 ................................................................................................................................................
     .....................................................................................................................................................................
     ชือ่ ผู้เขียน......................................................................................................................................................
     วารสารวิทยาศาสตรฉ์ บบั ปี พ.ศ.....................	เดอื น....................................................................................
     ขอบขา่ ยเนอื้ หา
     (.........) คณติ ศาสตร	์ 	 (.........) ดาราศาสตร	์ 	 (.........) ฟสิ ิกส์
     (.........) เคมี			 (.........) ธรณีวิทยา			 (.........) บรรพชีวนิ วทิ ยา
     (.........) พฤกษศาสตร	์ 	 (.........) สตั ววิทยา

            2.3 	ส�ำ เนาแบบบนั ทึกข้อมูลไวป้ ระมาณ 50 แผน่
            2.4 	คดั เลอื กบทความในวารสารวทิ ยาศาสตรฉ์ บบั ต่างๆ และมเี นอื้ หาแตกต่างสาขากนั ประมาณ
10 บทความ ถา้ เป็นไปไดส้ ำ�เนาบทความนั้นบทความละ 3 ชดุ
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46