Page 46 - การวิจัยเบื้องต้นทางสารสนเทศศาสตร์
P. 46
5-36 การวิจัยเบื้องต้นทางสารสนเทศศาสตร์
ได้รับแบบสอบถามยังไม่ครบจำ�นวนตามเป้าหมาย จำ�เป็นต้องส่งแบบสอบถามเพิ่มอีก แต่ต้องเลือกบุคคลที่ไม่ใช่
เป็นกลุ่มตัวอย่างที่เลือกไว้ในคราวก่อน
2. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลการวจิ ยั โดยใชแ้ บบสอบถามฉบบั อเิ ล็กทรอนิกส์
การเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามฉบับอิเล็กทรอนิกส์เป็นการเก็บข้อมูลโดยผ่านอินเทอร์เน็ตที่นิยมกันมี
2 รูปแบบ คือ การส่งแบบสอบถามทางอีเมล และการทำ�เว็บสำ�รวจ
2.1 การสง่ แบบสอบถามทางอเี มล กรณนี ีก้ ลุม่ ตวั อยา่ งตอ้ งเปน็ ผูใ้ ชอ้ นิ เทอรเ์ นต็ และมอี เี มล แอดเดรส ผูว้ จิ ยั
ต้องมีอีเมล แอดเดรสของกลุ่มเป้าหมาย และต้องมีวิธีการสุ่มให้ได้กลุ่มตัวอย่างที่น่าเชื่อถือ ข้อจำ�กัดนี้ทำ�ให้มีผลถึง
ประเด็นการวิจัย คือประเด็นการวิจัยจะต้องเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตด้วย เช่น การส�ำ รวจความคิดเห็นตอ่ การใช้รปู แบบ
การเรียนรู้ผา่ นส่อื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (e-learning) ในอนาคต กลุ่มตัวอย่างที่จะตอบคำ�ถามได้ต้องเป็นผู้ที่ใช้อินเทอร์เน็ต
และมีการใช้การเรียนรู้ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์อยู่บ้างแล้ว แต่อาจจะไม่เต็มรูปแบบ ผู้วิจัยจึงต้องมีข้อมูลเบื้องต้นของ
กลุ่มบุคคลที่มีการเรียนการสอนโดยใช้การเรียนรู้ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น อาจารย์ในมหาวิทยาลัยต่างๆ บริษัทที่
มีบริการให้การอบรมฝึกงานวิชาชีพในด้านต่างๆ บริษัทใหญ่ๆ ที่มีหน่วยงานพัฒนาบุคลากรภายใน
2.2 การท�ำ เวบ็ ส�ำ รวจ (web survey) การสำ�รวจแบบนี้ผู้วิจัยอาจจะทำ�แบบสอบถามเองโดยใช้โปรแกรมที่มี
ให้บริการในอินเทอร์เน็ต หรือใช้บริการของกูเกิล (http://docs.google.com) หรือศึกษาวิธีการทำ�แบบสำ�รวจแบบ
ออนไลน์จาก bombik (http://bombik.com) แต่ถ้าไม่ดำ�เนินการเองสามารถติดต่อผู้ให้บริการดำ�เนินการสำ�รวจ
ข้อมูลทางเว็บ ซึ่งมีผู้ให้บริการหลายราย ผู้วิจัยสามารถเลือกใช้บริการได้โดยพิมพ์คำ�ค้น “การสร้าง web survey”
ลงในเสิร์ชเอ็นจินของกูเกิล จะพบเว็บไซต์ผู้ให้บริการมากมาย
การทำ�เว็บสำ�รวจนี้ส่วนใหญ่จะทำ�ผ่านเว็บไซต์เว็บใดเว็บหนึ่ง การสอบถามส่วนใหญ่จะเป็นการสอบถามใน
เรื่องราวที่เกี่ยวกับหน่วยงานนั้นๆ เช่น การสอบถามความคิดเห็นต่อการใช้บริการต่างๆ ของหน่วยงานผ่านเว็บไซต์
2.3 ขอ้ ดีและข้อจำ�กัดในการเก็บรวบรวมขอ้ มลู โดยใชแ้ บบสอบถามอเิ ลก็ ทรอนิกส์
2.3.1 ข้อดีของการเกบ็ ขอ้ มลู โดยใชแ้ บบสอบถามอิเล็กทรอนกิ ส์ คือ
1) ประหยัดค่าใช้จ่าย
2) สามารถเก็บข้อมูลได้รวดเร็วกว่าวิธีอื่น
3) คำ�ถามที่มีความอ่อนไหวมาก ผู้ตอบสามารถตอบได้อย่างจริงใจมากกว่ารูปแบบอื่นเพราะ
ผู้ตอบมั่นใจว่าจะไม่มีผลกระทบถึงตนเอง
4) กรณีที่แบบสอบถามมีคำ�ถามปลายเปิด จะมีผู้ตอบมากกว่าการเก็บข้อมูลในรูปแบบอื่น
เพราะผู้ตอบมีเวลาคิดไตร่ตรอง และพิมพ์คำ�ตอบอย่างไม่เร่งรีบ สามารถทบทวนแก้ไขก่อนส่งคืนได้
5) เนื่องจากการเก็บข้อมูลโดยวิธีนี้ต้องใช้โปรแกรมสำ�เร็จ ซึ่งสามารถนำ�คำ�ตอบมาประมวลผล
ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ได้รวดเร็ว ไม่ต้องไปบันทึกข้อมูลใหม่อีก
2.3.2 ข้อจ�ำ กดั ของการเกบ็ ขอ้ มูลโดยใช้แบบสอบถามอิเล็กทรอนกิ ส์ คือ
1) ไม่สามารถให้ได้กลุ่มตัวอย่างที่เป็นตัวแทนของประชากรทั้งหมดได้ เพราะกลุ่มผู้ตอบต้อง
เป็นกลุ่มที่มีการใช้คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต ยกเว้นการวิจัยที่มุ่งในกลุ่มผู้ใช้อินเทอร์เน็ตเท่านั้น
2) ถ้าเป็นการสำ�รวจที่ใช้ช่วงเวลายาวนานจะได้คำ�ตอบกลับคืนในอัตราตํ่า
3) ถา้ จุดเขา้ ถึง (access point) แบบสอบถามไม่มจี ดุ เด่นบนหนา้ เว็บใหส้ ะดดุ ตา จะไม่มผี ูส้ นใจ
ตอบให้