Page 47 - การวิจัยเบื้องต้นทางสารสนเทศศาสตร์
P. 47

เครื่องมือการวิจัยและการเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อการวิจัย 5-37

  กจิ กรรม 5.2.1
         ถา้ ทา่ นวจิ ยั เรอ่ื ง “พฤตกิ รรมสารสนเทศของปราชญช์ าวบา้ นในจงั หวดั ขอนแกน่ ” ทา่ นใชเ้ ครอื่ งมอื การ

  วิจัยคอื แบบสอบถามฉบบั พิมพ์ ทา่ นจะมีวิธกี ารเก็บรวบรวมข้อมลู อยา่ งไร

  แนวตอบกจิ กรรม 5.2.1
         1. 	 ผู้วิจัยต้องทราบก่อนแล้ววา่ กลุม่ ตวั อย่างของตนมใี ครบา้ ง โดยมีการสำ�รวจเบอื้ งต้นจากขอ้ มลู ของ

  จังหวดั วา่ ในขอนแก่นมีใครบ้างท่ีไดร้ ับการยกย่องวา่ เปน็ ปราชญ์ชาวบ้าน อยู่ในหมู่บ้านใด อำ�เภอใด การส�ำ รวจ
  นอ้ี าจทราบที่อยู่ที่แน่นอนของท่านเหลา่ นัน้ ผู้วิจยั ควรจดบนั ทกึ ที่อย่เู หล่าน้นั ไว้

         2. 	 ถา้ ปราชญ์ชาวบ้านมจี �ำ นวนมาก ผูว้ ิจัยอาจสมุ่ กลุ่มตัวอยา่ งมาจ�ำ นวนหนง่ึ
         3. 	 ผู้วิจัยอาจหาข้อมูลว่าทางจังหวัดหรืออำ�เภอจะมีการเชิญปราชญ์ชาวบ้านมาประชุมในช่วงเวลาท่ี
  ผู้วิจัยจะเก็บรวบรวมข้อมูลบ้างหรือไม่ ถ้ามีตรวจสอบวันประชุม สถานที่ท่ีแน่นอน เพื่อไปพบกับปราชญ์ชาว
  บา้ นด้วยตนเอง เพอ่ื สง่ แบบสอบถามให้ เปน็ การพบปะกลมุ่ ตัวอยา่ ง จะไดม้ กี ารแนะนำ�ผ้วู จิ ยั และวัตถปุ ระสงค์
  การวิจัย เพ่ือขอข้อมูลด้วยการให้ตอบแบบสอบถามน้ันด้วย ทำ�ให้มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับกลุ่มตัวอยา่ ง ส่วนกลุ่ม
  ตวั อย่างที่ไม่ไดม้ าประชมุ ผูว้ ิจัยตอ้ งจัดสง่ แบบสอบถามทางไปรษณีย์

เร่ืองที่ 5.2.2
การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู การวจิ ยั โดยใชแ้ บบสมั ภาษณแ์ ละแบบบนั ทกึ ขอ้ มลู

1. 	การเกบ็ รวบรวมข้อมลู โดยใช้แบบสัมภาษณ์

       ดังที่กล่าวแล้วว่า แบบสัมภาษณ์มี 2 รูปแบบ คือ แบบสัมภาษณ์ที่มีโครงสร้างและแบบสัมภาษณ์ที่ไม่มี
โครงสร้าง การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้เครื่องมือ 2 รูปแบบดังกล่าวมีความแตกต่างกันในบางส่วน กล่าวคือถ้าเป็น
แบบมีโครงสร้าง ผู้สัมภาษณ์ตั้งคำ�ถามไปตามข้อคำ�ถามที่ปรากฏในแบบสัมภาษณ์ เมื่อผู้ให้สัมภาษณ์ตอบอย่างใด	
ผู้สัมภาษณ์บันทึกลงในแบบสัมภาษณ์ ถ้าเป็นแบบสัมภาษณ์ไม่มีโครงสร้าง เมื่อตั้งคำ�ถามแล้ว ให้ผู้ถูกสัมภาษณ์ตอบ
อยา่ งเสรี ผสู้ มั ภาษณต์ อ้ งใชก้ ารบนั ทกึ เสยี งเพือ่ เกบ็ คำ�สมั ภาษณ์ และอาจใชก้ ารบนั ทกึ ค�ำ สมั ภาษณท์ ีเ่ ปน็ ประเดน็ ส�ำ คญั
ไว้ด้วยก็ได้ การสัมภาษณ์มี 2 ประเภทคือ การสัมภาษณ์เชิงลึก และการจัดสนทนากลุ่ม

       1.1 	การสัมภาษณ์เชงิ ลึก (indepth interview) นิยมใช้ในการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยอาจเป็นการสัมภาษณ์ตัว
ต่อตัวแบบเผชิญหน้า (face to face interviewing) หรือการสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์ (telephone interviewing)

            1.1.1 การเตรยี มการสัมภาษณเ์ ชงิ ลกึ
                1) 	การเตรยี มการดา้ นตวั ผูว้ จิ ยั และผชู้ ่วยวิจยั
                     - ผู้สัมภาษณ์ควรเป็นผู้ที่มีความสามารถในการสื่อสาร มีไหวพริบ มีความรู้ความเข้าใจใน

เรื่องที่จะสัมภาษณ์อย่างลึกซึ้ง ปกติประเด็นหลังนี้ผู้วิจัยต้องมีอยู่แล้ว แต่ประเด็นแรกนั้นหากผู้วิจัยไม่มีต้องมีการซัก
ซ้อมการสัมภาษณ์กับเพื่อนจนมีความมั่นใจที่จะไปดำ�เนินการสัมภาษณ์ด้วยตนเอง
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52