Page 50 - การวิจัยเบื้องต้นทางสารสนเทศศาสตร์
P. 50
5-40 การวิจัยเบื้องต้นทางสารสนเทศศาสตร์
3) สามารถกระตุน้ ใหท้ กุ คนไดพ้ ดู แสดงความเหน็ อยา่ งทัว่ ถงึ และมศี ลิ ปะในการขดั จงั หวะ กรณี
ที่มีผู้อื่นจะผูกขาดการสนทนาแต่เพียงผู้เดียว
4) ไม่ควรเป็นบุคคลขององค์การสารสนเทศ เพราะถ้าเป็นบุคคลขององค์การสารสนเทศแล้ว
การแสดงออกของผู้ร่วมสนทนาจะทำ�ได้ไม่เต็มที่ เพราะเกิดความเกรงใจ ทำ�ให้ได้ข้อมูลที่คลาดเคลื่อน อย่างไรก็ดี
คุณสมบตั ขิ ้อนี้ไม่ไดเ้ ขม้ งวดนกั หากหาบคุ คลภายนอกทีม่ ีคณุ สมบัตทิ ีเ่ หมาะสมไมไ่ ด้ ก็อาจตอ้ งใช้บุคคลขององคก์ าร
สารสนเทศที่เข้าใจงานและความมุ่งหมายของการวิจัยอย่างชัดเจนเป็นผู้ดำ�เนินการสนทนา
1.2.2 การเตรียมการด้านผูด้ �ำ เนินการสนทนา
1) ทำ�ความเข้าใจในประเด็นปัญหาการวิจัยกับผู้วิจัยให้ชัดเจน
2) อ่านปัญหาที่ผู้วิจัยต้องการให้มีการสนทนาเพื่อให้ได้ข้อมูลจากสมาชิกในกลุ่มให้มากที่สุด
3) ประมาณเวลาว่าแต่ละข้อปัญหาจะใช้เวลาสนทนานานเพียงใด เพื่อให้เมื่อจบการสนทนาแล้ว
สามารถถามปัญหาได้ครบตามต้องการ
4) เข้าใจบทบาทหน้าที่ของผู้ดำ�เนินการสนทนา
1.2.3 การเตรยี มการดา้ นผูเ้ ข้ารว่ มสนทนา
1) คัดเลือกบุคคลที่จะเชิญมาร่วมสนทนากลุ่ม ควรเป็นบุคคลที่มีลักษณะพื้นฐานคล้ายคลึงกัน
เชน่ อายใุ กลเ้ คยี งกนั สถานภาพทางวชิ าการหรอื ทางสงั คมใกลเ้ คยี งกนั ทีส่ �ำ คญั สามารถใหส้ ารสนเทศรอบดา้ นหรอื เชงิ
ลึกเกี่ยวกับปัญหาหรือข้อคำ�ถามที่กำ�หนดไว้ และพยายามเลือกบุคคลที่ไม่เคยรู้จักกันมาก่อนจะเป็นการดี ควรเลือก
ไว้มากกว่า 10 คน จัดลำ�ดับความสำ�คัญของบุคคลที่จะเชิญ แล้วติดต่อ 10 คนแรก อาจติดต่อทางโทรศัพท์เพื่อชี้แจง
รายละเอียดของการร่วมสนทนากลุ่ม และคำ�ถามที่ต้องการให้ร่วมแสดงความคิดเห็นให้ทราบ หากได้รับการตอบรับ
ให้ถามวันเวลาที่สะดวกจะไปร่วมสนทนา หากไม่ตอบรับหรือไม่สะดวกในช่วงเวลาที่อาจจะจัดสนทนา ให้เลือกบุคคล
ในลำ�ดับถัดไปจนครบ เมื่อได้ข้อมูลครบแล้ว พิจารณาวัน เวลา สถานที่ที่จะจัดสนทนาที่แน่นอน แล้วแจ้งให้บุคคล
นั้นๆ ทราบโดยเร็ว อาจแจ้งทางโทรศัพท์ก่อน แล้วใช้จดหมายเชิญอย่างเป็นทางการอีกครั้ง
2) ก่อนถึงวันนัดหมายประมาณ 3 วัน ควรโทรศัพท์แจ้งยืนยันให้ผู้เข้าร่วมสนทนาทราบอีกครั้ง
1.2.4 การเตรียมการดา้ นสถานที่
1) เตรียมการดา้ นสถานทีว่ า่ จะใช้ห้องประชุมใด หอ้ งประชมุ ควรมเี ครือ่ งปรับอากาศ มีสิ่งอ�ำ นวย
ความสะดวกแก่ผู้เข้าร่วมสนทนาตามสมควร และกว้างขวางพอที่จะรองรับจำ�นวนผู้เข้าร่วมสนทนาได้อย่างเหมาะสม
2) การประชุมควรจัดแบบโต๊ะกลม ให้ทุกคนสามารถเห็นหน้ากันและเตรียมป้ายชื่อของบุคคล
แสดงหน้าที่นั่งของบุคคลนั้นๆ
3) หากเวลาประชมุ ทีเ่ ลกิ ใกลเ้ วลาเทีย่ ง ควรเตรยี มการเรือ่ งอาหารกลางวนั ไวด้ ว้ ย หากด�ำ เนนิ การ
ในภาคบ่าย ควรเตรียมอาหารว่างเพื่อรับรองผู้เข้าร่วมสนทนา
1.2.5 การดำ�เนินการจัดสนทนากลุ่ม
1) วันที่ดำ�เนินการจริง ก่อนถึงเวลาที่กำ�หนด ผู้วิจัยควรเป็นผู้ต้อนรับทักทายผู้ร่วมสนทนากลุ่ม
เพื่อให้เกิดความคุ้นเคย ควรมีผู้ช่วยพาไปยังที่นั่ง เมื่อผู้รับเชิญครบแล้ว ผู้ดำ�เนินการสนทนาแนะนำ�ตัว แนะนำ�ผู้ช่วย
ด�ำ เนนิ การสนทนา ชีแ้ จงเปา้ หมายของการสนทนา ขออนญุ าตบนั ทกึ การสนทนาทัง้ ในรปู ขอ้ เขยี นและเสยี งสนทนา หลงั
ดำ�เนินการแล้วจะส่งให้ผู้รับเชิญทุกคนได้ตรวจสอบความถูกต้องในสิ่งที่บันทึกก่อนเผยแพร่หรือด�ำ เนินการวิเคราะห์
ข้อมูล
2) ดำ�เนินการสนทนาตามกำ�หนดการ คือ ทักทายที่ประชุม แนะนำ�ผู้เข้าร่วมสนทนาทั้งชื่อและ
ต�ำ แหนง่ งาน ประสบการณท์ ีส่ �ำ คญั ใหผ้ ูช้ ว่ ยทดสอบการบนั ทกึ เสยี งตอนเริม่ รายการสว่ นนี้ หากผดิ พลาดจะไดแ้ กไ้ ขได้