Page 51 - การวิจัยเบื้องต้นทางสารสนเทศศาสตร์
P. 51

เครื่องมือการวิจัยและการเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อการวิจัย 5-41

ทัน เพื่อไม่ให้สาระสำ�คัญที่จะเกิดขึ้นต่อไปเสียหายได้ แล้วเริ่มคำ�ถามแรก พยายามกระตุ้นให้ทุกคนได้มีโอกาสแสดง
ความคิดเห็น หากมีผู้ใดที่แสดงความเห็นมากเกินไป ต้องใช้ศิลปะการพูดที่จะเปิดโอกาสให้คนอื่นได้พูดบ้าง ในแต่ละ
ข้อคำ�ถามทุกคนควรได้แสดงความคิดเห็น ผู้ดำ�เนินการสนทนาต้องบริหารเวลาให้สามารถได้คำ�ตอบของคำ�ถามที่ตั้ง
ไว้ทั้งหมดให้ได้

                3) 	ก่อนจบคำ�ถามแต่ละข้อควรมีการทวนคำ�ตอบโดยสรุปจากที่ประชุม อาจให้ผู้ช่วยสนทนาที่
เป็นผู้บันทึกเป็นผู้สรุปให้ที่ประชุมทราบ และยืนยัน หากต้องการแก้ไขส่วนใดให้มีการแก้ในขณะนั้นเลย

                4) 	ก่อนปิดการสนทนา ควรกล่าวขอบคุณ และแจ้งการส่งสำ�เนาให้ทุกคนได้รับทราบ
                5) 	เมื่อผู้ร่วมสนทนากลับหมดแล้ว ผู้วิจัยต้องดำ�เนินการถอดเสียงที่บันทึกหรือตรวจสอบ	
การบันทึกการสนทนาทันที ทบทวนข้อความ ตัดข้อความที่เป็นพลความออก เพื่อนำ�ไปจัดพิมพ์ต่อไป นอกจากนี้	
อาจต้องบันทึกข้อสังเกตต่างๆ ในขณะสนทนา เช่น สถานที่จัด วันเวลา บรรยากาศโดยรวมของการสนทนา สิ่งที่คาด
ไม่ถึงที่เกิดขึ้นในขณะดำ�เนินการสนทนา
            1.2.6 ขอ้ ดแี ละขอ้ จำ�กัดในการจัดสนทนากลุ่ม
                1) ข้อดขี องการสนทนากลุม่

                     - 	บทบาทสำ�คัญอยู่ที่ผู้ดำ�เนินการสนทนากลุ่ม
                     - 	ความสามารถของผู้เข้าร่วมสนทนากลุ่มเกิดขึ้นเมื่อมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกที่เข้า
ร่วมสนทนา
                     - 	พลวัตภายในกลุ่มเป็นไปโดยธรรมชาติ โดยการนำ�ของผู้ดำ�เนินการสนทนากลุ่ม
                     - 	สามารถเก็บข้อมูลจากการแสดงออกที่เป็นภาษาที่ไม่ใช้ถ้อยคำ�ของผู้ร่วมสนทนาได้
                     - 	มีการคัดกรองผู้เข้าร่วมสนทนาก่อนว่าเป็นผู้ที่เหมาะสมที่จะให้ข้อมูลที่ดีได้ จึงมั่นใจได้
ว่าผลที่ได้จากการสนทนากลุ่มว่ามีความน่าเชื่อถือสูง
                2) 	ขอ้ จำ�กัดในการจัดการสนทนากลุ่ม
                     - 	บางครั้งการสนทนากลุ่มถูกครอบงำ�โดยผู้เข้าร่วมเพียง 2-3 คน ทำ�ให้ผลที่ได้จึงมีความ
เบี่ยงเบนสูง
                     - 	หัวข้อสนทนาหากเป็นหัวข้อที่มีผลกระทบรุนแรง (sensitive topics) ผู้ร่วมสนทนาจะ
ไม่ค่อยกล้าแสดงออก ข้อมูลที่ได้จึงอาจเป็นข้อมูลที่อ่อน
                     - 	การจัดสนทนากลุ่มมักจัดในห้องประชุมขนาดเล็กหรือปานกลางซึ่งแตกต่างจากสภาพ
ที่ผู้เข้าร่วมสนทนาเคยเป็นอยู่จริง การแสดงออกจึงอาจแตกต่างไปจากความเป็นจริง ส่งผลต่อคุณภาพของผลวิจัย
ไปด้วย

2. 	การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบบนั ทกึ ขอ้ มูล

       เนอื่ งจากแบบบนั ทกึ ขอ้ มลู เปน็ เครือ่ งมอื การวจิ ยั ทีส่ ว่ นใหญใ่ ชก้ บั การวจิ ยั เชงิ วเิ คราะหเ์ นือ้ หา การเกบ็ รวบรวม
ข้อมูลโดยใช้แบบบันทึกข้อมูลมีขั้นตอน ดังนี้

       2.1 	ผู้วิจัยดำ�เนินการหาประชากรหรือกลุ่มตัวอย่างเป้าหมาย เช่น งานวิจัยเรื่อง “การวิเคราะห์วิทยานิพนธ์
เกีย่ วกบั หอ้ งสมดุ มหาวทิ ยาลยั ของสถาบนั อดุ มศกึ ษาของรฐั ในประเทศไทย ทีเ่ ผยแพรร่ ะหวา่ งปี พ.ศ. 2543-2553 โดย
วิเคราะห์ด้านสถาบัน สาขาวิชา ขอบเขตเนื้อหา ประเภทของการวิจัย การนำ�ทฤษฎีมาใช้ในการวิจัย และวิธีดำ�เนินการ
วิจัย” จะเห็นว่าประชากรคือ วิทยานิพนธ์เกี่ยวกับห้องสมุดมหาวิทยาลัย ของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐในประเทศไทย
ทีเ่ ผยแพรร่ ะหวา่ งปี พ.ศ. 2543-2553 ผูว้ จิ ยั กำ�หนดวธิ กี ารทีจ่ ะเขา้ ถงึ วทิ ยานพิ นธเ์ หลา่ นัน้ ส�ำ รวจใหไ้ ดว้ า่ มวี ทิ ยานพิ นธ์
ที่เข้าลักษณะที่ต้องการจำ�นวนเท่าใด
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56