Page 19 - เทคโนโลยีมัลติมีเดีย
P. 19

เทคโนโลยีวีดิทัศน์ 7-9
         2. 	 ขอ้ จำ�กดั ของวดิ โี อแอนะล็อก ไดแ้ ก่

              - 	แก้ไขขอ้ มูลยาก
              - 	ไม่สามารถส่งผ่านวดิ โี อแอนะล็อกผ่านชอ่ งทางอินเทอรเ์ น็ตได้
              - 	การส�ำ เนาซํา้ หลายครง้ั จะท�ำ ให้คุณภาพของวิดโี อแอนะล็อกลดลง
              ข้อดขี องวดิ ีโอดจิ ทิ ลั ได้แก่
              - 	แกไ้ ขข้อมลู ง่าย และมซี อฟตแ์ วร์จ�ำ นวนมาก ส�ำ หรับสรา้ ง เอฟเฟคพเิ ศษ บนภาพดจิ ิทลั
              - 	สามารถส่งผ่านวิดโี อดจิ ทิ ลั ผา่ นชอ่ งทางอินเทอร์เนต็ ได้
              - 	มีวิธีการเข้ารหัสข้อมูลดิจิทัล ทำ�ให้คุณภาพของวิดีโอดิจิทัลยังอยู่ในระดับเดิม แม้ว่าจะสำ�เนา
  ซาํ้ หลายครั้ง

เรอื่ งท่ี 7.1.2
คณุ สมบัตขิ องการแสดงภาพวดิ ีโอ

       ในทางปฏิบัติ วิดีโอคือลำ�ดับภาพที่เปลี่ยนแปลงไปตามเวลา ลำ�ดับภาพนี้สามารถรับชมได้ในโทรทัศน์
แอนะล็อก เครื่องเล่นเทปวิดีโอ เครื่องฉายภาพยนตร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ ดังนั้นการศึกษาเทคโนโลยีของวิดีโอ จึง
สอดคล้องโดยตรงกับการศึกษาเทคโนโลยีของโทรทัศน์และภาพยนตร์ ทั้งนี้เทคโนโลยีด้านโทรทัศน์มีความสลับ
ซับซ้อนมากกว่าภาพยนตร์มาก เนื่องจากโทรทัศน์ต้องอาศัยเทคนิคหลายอย่างมาประสานกัน ไม่ว่าจะเป็นวิธีการ
แสดงภาพด้วยอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์และเทคนิคสำ�หรับการเข้ารหัสสี ซึ่งมีผลต่อวิธีการแปลงสัญญาณแอนะล็อก
ไปเป็นสัญญาณดิจิทัล การจัดการภาพสำ�หรับภาพยนตร์และโทรทัศน์นั้นมีความแตกต่างกันด้วย เช่น เทคโนโลยี
การถ่ายทอดสัญญาณโทรทัศน์ต้องการวิธีจัดการกับสัญญาณ เพื่อสามารถดำ�เนินการถ่ายทอดสัญญาณที่มีปริมาณ
ข้อมูลมาก ภายใต้ช่องทางแบนด์วิดท์ (bandwidth) ที่จำ�กัด ทั้งนี้ แบนด์วิดท์คือสัดส่วนของจำ�นวนข้อมูลทั้งหมดที่
ส่งผ่านหรือรับเข้ามาต่อหน่วยเวลา ตัวอย่างเช่น การโอนย้ายข้อมูลรูปภาพในหนึ่งวินาที จะใช้แบนด์วิดท์มากกว่าการ
โอนย้ายข้อความในเวลาหนึ่งวินาที เป็นต้น

       ภาพแต่ละภาพที่แสดงในโทรทัศน์ประกอบไปด้วย ชุดของเส้นภาพตามแนวแกนขวางจากซ้ายไปขวา ซึ่งเรียง
ตวั เปน็ ล�ำ ดบั ชัน้ โดยเรยี งจากบนลงลา่ งลกั ษณะเชน่ นีเ้ รยี กวา่ แรสเตอร์ (raster) จ�ำ นวนของเสน้ ภาพและการเรยี งล�ำ ดบั
ของเสน้ ภาพในขณะสแกนภาพขึน้ อยู่กบั ชนิดของการแสดงภาพและบริเวณที่มกี ารถา่ ยทอดสัญญาณโทรทัศนว์ ่าอยูใ่ น
ทวีปใด ปัจจัยต่อไปนี้ ส่งผลโดยตรงต่อคุณภาพการทำ�งานของโทรทัศน์และการบีบอัดสัญญาณ

       - 	ขนาดของภาพบนระบบโทรทัศน์ที่แตกต่างกัน
       - 	อัตราการแสดงภาพต่อวนิ าที (frame rate) ในประเทศสหรฐั อเมรกิ า กล่มุ ประเทศยโุ รป และประเทศอนื่ ๆ
       - 	คา่ สัดส่วนจอภาพ (aspect ratio) และการแปลงค่าสัดส่วนจอภาพ ในกรณีที่ขนาดของจอภาพแตกต่างกัน
       - 	รูปแบบสัญญาณแอนะล็อก และการเข้ารหัสของสัญญาณภาพแอนะล็อก เพื่อแปลงไปเป็นสัญญาณภาพ
ดิจิทัล
       - การเข้ารหัสของส่วนประกอบที่ใช้อธิบายการส่องสว่าง (luma) และส่วนประกอบที่ให้รายละเอียดของสี
(chroma)
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24