Page 23 - เทคโนโลยีมัลติมีเดีย
P. 23

เทคโนโลยีวีดิทัศน์ 7-13

PAL ยกตัวอย่างเช่นในประเทศฝรั่งเศส ใช้ระบบโทรทัศน์แบบซีแคม (SECAM) ซึ่งระบบนี้โดยส่วนใหญ่คล้ายคลึง
กับระบบ PAL ทั้งนี้ในแต่ละระบบจะมีรายละเอียดดังต่อไปนี้

       2.1 	มาตรฐานระบบโทรทัศน์แอนะล็อกแบบเอ็นทีเอสซี (National Television Standards Committee,
NTSC) มาตรฐานโทรทัศน์ NTSC ถูกสร้างขึ้นมาในช่วงปี พ.ศ. 2473-2482 เป็นมาตรฐานสำ�หรับตัวส่งสัญญาณ
โทรทัศน์แบบขาวดำ� มาตรฐาน NTSC ได้ระบุชัดเจนถึงรูปร่างของสัญญาณซึ่งถูกส่งโดยตัวส่งสัญญาณ สัญญาณ
โทรทัศน์จะเป็นแบบแอนะล็อก โดยที่ความสูงตํ่าของคลื่นสัญญาณ จะมีการเปลี่ยนแปลงไปเพื่อที่จะตอบสนองต่อ
ส่วนที่เป็นสีขาวและสีดำ�ของเส้นภาพ เมื่อรายละเอียดเกี่ยวกับสีถูกรวมเข้าไปในมาตรฐาน NTSC ในปี พ.ศ. 2496 จึง
จำ�เป็นต้องเพิ่มอุปกรณ์เข้าไปในโทรทัศน์ขาวดำ� เพื่อให้สามารถแสดงสัญญาณภาพสีได้ในโทรทัศน์ขาวดำ� ในปัจจุบัน
ระบบโทรทัศน์ NTSC เป็นมาตรฐานสำ�หรับการถ่ายทอดสัญญาณโทรทัศน์ในประเทศสหรัฐอเมริกา แคนาดา ญี่ปุ่น
และใช้ความถี่ของสัญญาณอยู่ที่ 60 เฮิรตซ์ (Hertz, Hz) มีอัตราการแสดงภาพ 29.97 ภาพต่อวินาที จำ�นวนเส้นภาพ
525 เส้น และใช้ระบบสีวายไอคิว (YIQ)

       2.2 	มาตรฐานระบบโทรทศั นแ์ อนะลอ็ กแบบพเี อแอล (Phase Alternate Line, PAL) มาตรฐานโทรทศั น์ PAL
ถกู สรา้ งขึน้ มาในชว่ งปี พ.ศ. 2493-2502 เปน็ มาตรฐานส�ำ หรบั การถา่ ยทอดสญั ญาณโทรทศั นใ์ นทวปี ยโุ รปและประเทศ
สหราชอาณาจักร ทวีปออสเตรเลีย และทวีปเอเชีย (ยกเว้น ญี่ปุ่น) และใช้ความถี่ของสัญญาณอยู่ที่ 50 เฮิรตซ์ มีอัตรา
การแสดงภาพ 25 ภาพต่อวินาที จำ�นวนเส้นภาพ 625 เส้น และใช้ระบบสีวายยูวี (YUV) มาตรฐาน PAL เป็นการเข้า
รหสั และปรบั สญั ญาณ ส�ำ หรบั การสง่ สญั ญาณวดิ โี อทีใ่ ชแ้ บนดว์ ดิ ทป์ ระหยดั ทีส่ ดุ โดยใชแ้ บนดว์ ดิ ทน์ อ้ ยกวา่ มาตรฐาน
NTSC และ SECAM ดังนั้น มาตรฐานนี้จึงถือเป็นแนวทางการบีบอัดสัญญาณแอนะล็อก

       2.3 	มาตรฐานระบบโทรทศั นแ์ อนะลอ็ กแบบซแี คม (Sequential Color with Memory, SECAM) มาตรฐาน
โทรทัศน์ SECAM ถูกสร้างขึ้นมาในปี พ.ศ.2499 เป็นมาตรฐานสำ�หรับการถ่ายทอดสัญญาณโทรทัศน์ในประเทศ
ฝรั่งเศส รัสเซีย และบางพื้นที่ของทวีปแอฟริกา และใช้ความถี่ของสัญญาณอยู่ที่ 50 เฮิรตซ์ มีอัตราการแสดงภาพ
25 ภาพต่อวินาที จำ�นวนเส้นภาพ 625 เส้น และใช้ระบบสีวายซีบีซีอาร์ (YCbCr)

       ในปจั จบุ นั นีแ้ ตล่ ะมาตรฐานไดพ้ ฒั นาอยา่ งตอ่ เนือ่ ง แนวทางการพฒั นาพุง่ เปา้ ไปทีก่ ารกระจายสญั ญาณภาพที่
มีความละเอียดสงู และการสง่ สญั ญาณโทรทัศน์ดจิ ิทลั การมารวมกนั ระหว่างระบบโทรทศั น์และเทคโนโลยกี ารจดั การ
ภาพบนคอมพิวเตอร์ ส่งผลให้ในปัจจุบันสามารถส่งสัญญาณที่มีความละเอียดสูงได้แล้ว

3. 	อตั ราการสร้างภาพใหม่ (refresh rate)

       อัตราการสร้างภาพใหม่คือ จำ�นวนครั้งในหนึ่งวินาทีที่อุปกรณ์ได้แสดงภาพออกมา ในยุคแรกของการคิดค้น
ภาพเคลื่อนไหว (animation) หลังจากการทดลองหลายครั้งพบว่าอัตราการสร้างภาพใหม่ที่น้อยสุด ที่ทำ�ให้การแสดง
ภาพมีความต่อเนื่อง (smooth) คือ 15 ภาพต่อวินาที ดังนั้นเครื่องฉายโปรเจคเตอร์หรืออุปกรณ์แสดงสัญญาณวิดีโอ
ในยุคแรก จึงกำ�หนดให้ 16 ภาพต่อวนิ าที เปน็ อัตราการสร้างภาพใหมท่ ี่เหมาะสม อย่างไรกต็ ามเมือ่ ภาพยนตรเ์ ริม่ ถ่าย
ทำ�แบบมีการเคลื่อนที่อย่างรวดเร็ว (fast action) ของวัตถุในภาพ อุตสาหกรรมภาพยนตร์จึงได้ตัดสินใจเพิ่มอัตรา
การสร้างภาพใหม่ เป็น 24 ภาพต่อวินาที และได้ใช้อัตรานี้มาจนถึงปัจจุบัน

       ตอ่ มาไดถ้ กู คน้ พบวา่ อตั ราการสรา้ งภาพใหมน่ ีส้ ามารถถกู เพิม่ จ�ำ นวนเปน็ สองเทา่ เปน็ 48 ภาพตอ่ วนิ าที โดยที่
ไมจ่ �ำ เปน็ ตอ้ งสรา้ งภาพใหมจ่ รงิ ๆ ท�ำ ใหภ้ าพเคลือ่ นไหวดตู อ่ เนือ่ งขึน้ กวา่ เดมิ การเพิม่ อตั ราการสรา้ งภาพใหมท่ �ำ ไดโ้ ดย
การฉายภาพไปบนจอหรือที่เรียกว่าการโปรเจคภาพ จำ�นวนสองครั้งต่อหนึ่งภาพ ซึ่งต้องอาศัยเครื่องฉายภาพยนตร์
(movie projector) ที่ใช้ตัวชัตเตอร์แบบ ดับเบิ้ลเบรดโรเทตดิ้ง (double-blade rotating) ซึ่งอนุญาตให้แสงเข้าไป
ได้ 2 ครั้งต่อหนึ่งภาพ ตัวชัตเตอร์จะทำ�การเปิดเพื่อรับแสงเข้ามาแล้วปิด และเปิดครั้งที่สอง รอบการทำ�งานนี้ใช้เวลา
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28