Page 24 - เทคโนโลยีมัลติมีเดีย
P. 24

7-14 เทคโนโลยีมัลติมีเดีย

1/24 ของหนึ่งวินาที ด้วยหลักการเช่นนี้ ทำ�ให้ในหนึ่งวินาที ตัวชัตเตอร์ทำ�งาน 24 รอบ แต่ละรอบตัวชัตเตอร์ฉายภาพ
เดิมซํ้า 2 ครั้ง ทำ�ให้เกิดการฉายภาพทั้งสิ้น 48 (48 = 24 × 2) ภาพ แนวทางนี้จึงมีประสิทธิภาพสำ�หรับเพิ่มอัตราการ
สร้างภาพใหม่จาก 24 ภาพเป็น 48 ภาพต่อวินาที และในยุคปัจจุบันนี้ เครื่องฉายภาพยนตร์มีหลอดไฟที่สว่างมาก
และสามารถใช้ตัวชัตเตอร์แบบทริบเบิ้ลเบรดโรเทตดิ้ง (triple-blade rotating) ซึ่งอนุญาตให้แสงเข้าไปได้ 3 ครั้ง
ต่อหนึ่งภาพ เพื่อให้ได้รับอัตราการสร้างภาพใหม่ที่ 72 (72 = 24 × 3) ภาพต่อวินาที

       เนื่องด้วยความถี่ของกระแสไฟฟ้าในประเทศแถบยุโรปอยู่ที่ 50 เฮิรตซ์ ทั้งนี้ 1 เฮิรตซ์ คือความถี่ 1 ครั้งต่อ
วินาที ในกรณีที่มีการสแกนภาพแบบเส้นเว้นเส้น ซึ่งภาพสมบูรณ์ 1 ภาพจะสร้างขึ้นมาจาก 2 เฟรม อันได้แก่เฟรมที่
ประกอบไปดว้ ยเสน้ ภาพทีเ่ ปน็ เลขคี่ และเฟรมทีป่ ระกอบไปดว้ ยเสน้ ภาพทีเ่ ปน็ เลขคู่ ถา้ หากก�ำ หนดใหม้ อี ตั ราการสรา้ ง
ภาพใหม่อยู่ที่ 25 ภาพต่อวินาที จะต้องใช้จำ�นวนเฟรมทั้งสิ้น 50 เฟรมต่อวินาที ซึ่งสอดคล้องกับความถี่กระแสไฟฟ้า
50 เฮิรตซ์ ดังนั้นมาตรฐานโทรทัศน์ที่ใช้กันในกลุ่มประเทศยุโรป เช่น PAL และ SECAM จึงใช้อัตราการสร้างภาพ
ใหม่ที่ 25 ภาพต่อวินาที ค่าอัตรานี้ได้ให้ความสะดวกในการถ่ายทอดภาพยนตร์บนเครื่องรับโทรทัศน์ด้วย อันเนื่อง
มาจากภาพยนตร์ถูกถ่ายทำ�ด้วยอัตรา 24 ภาพต่อวินาที และถูกแสดงบนโทรทัศน์ที่มีอัตรา 25 ภาพต่อวินาที จะเห็น
ว่ามีความแตกต่างน้อยมากจนไม่สามารถตรวจจับได้

       ในขณะทีป่ ระเทศสหรฐั อเมรกิ า ซึง่ ใชร้ ะบบโทรทศั นแ์ อนะลอ็ กแบบ NTSC มคี วามถีข่ องกระแสไฟฟา้ อยูท่ ี่ 60
เฮริ ตซ์ เมือ่ เกิดโทรทศั นใ์ นชว่ งปี พ.ศ. 2473-2482 จงึ ใช้อตั ราการสรา้ งภาพใหม่ที่ 30 ภาพตอ่ วินาที และเมือ่ โทรทศั น์สี
ถูกนำ�เข้ามาในปี พ.ศ. 2496 อัตราการสร้างภาพใหม่ได้ปรับลดลงไม่เกิน 1% อยู่ที่ 29.97 (29.97 = 30— 0.03)
ภาพต่อวินาที อันเนื่องมาจากความต้องการแยกกันอย่างชัดเจนระหว่างตัวส่งสัญญาณเสียงและสัญญาณภาพ ทั้งนี้
การใช้การสแกนภาพแบบเส้นเว้นเส้น ภาพโทรทัศน์ที่สมบูรณ์ 1 ภาพ จะประกอบไปด้วย 2 เฟรมนั่นคือ เฟรมเส้น
ภาพที่เป็นเลขคี่ และเฟรมเส้นภาพที่เป็นเลขคู่ ดังนั้นอัตราการสร้างภาพใหม่ 29.97 ภาพต่อวินาที จึงต้องการอัตรา
ความเร็วที่ 59.94 (59.94 = 29.97 × 2) เฟรมต่อวินาที

       และยังมีข้อเท็จจริงอีกประการหนึ่งคือ อัตราการสร้างภาพใหม่สำ�หรับโทรทัศน์ควรจะสูงกว่าอัตราการสร้าง
ภาพใหมส่ ำ�หรบั ภาพยนตร์ เพราะวา่ โดยปกติภาพยนตรถ์ กู รับชมในสถานทีม่ ดื ดงั ตัวอย่างเชน่ โรงภาพยนตร์ ในขณะที่
โทรทัศน์ถูกรับชมในห้องที่มีแสงสว่าง และสายตาของมนุษย์ไวมากต่อภาพกระตุกภายใต้สภาพแวดล้อมที่มีแสงสว่าง
จึงทำ�ให้โทรทัศน์ต้องมีอัตราการสร้างภาพใหม่ที่สูงกว่าภาพยนตร์ เนื่องจาก 30 หรือ 29.97 ภาพต่อวินาที มีความถี่
ในการแสดงภาพมากกว่า 25 ภาพต่อวินาที

4. 	ค่าสดั ส่วนจอภาพ (aspect ratio) และคา่ สัดสว่ นของพิกเซล (pixel aspect ratio)

       4.1 	ค่าสัดส่วนจอภาพ คืออัตราส่วนของความกว้างของจอภาพเทียบกับความสูง เครื่องโทรทัศน์ที่ใช้ใน
ประเทศสหรัฐอเมริกา แคนาดา และญี่ปุ่น จะใช้ระบบโทรทัศน์แอนะล็อกตามมาตรฐาน NTSC ซึ่งมาตรฐานนี้ได้
กำ�หนดให้ การถ่ายทอดสัญญาณโทรทัศน์อยู่ที่ 525 เส้นภาพ ทั้งนี้ในปัจจุบันควรจะอยู่ที่ 29 = 512 เส้นภาพ แต่เนื่อง
ด้วยโทรทัศน์ถูกพัฒนาขึ้นมาก่อนการประดิษฐ์คอมพิวเตอร์ และคอมพิวเตอร์มีคุณสมบัติของจำ�นวนไบนารี ดังนั้น
มาตรฐาน NTSC จึงไม่มีความสัมพันธ์กับค่ายกกำ�ลังของ 2

       ในส่วนของการแสดงภาพบนโทรทัศน์เฉพาะ 483 เส้นภาพเท่านั้น ที่สามารถมองเห็นได้บนฉากจอโทรทัศน์
และเนื่องจากอัตราส่วนของความกว้างต่อความสูงของฉากจอคือ 4:3 ดังนั้นแต่ละเส้นภาพบนฉากจอจึงมีขนาด
(4/3) × 483 = 644 พิกเซล ด้วยเหตุนี้ค่าความละเอียดของโทรทัศน์มาตรฐานจึงอยู่ที่ 483 × 644 พิกเซล ทั้งนี้ความ
ละเอยี ดระดบั นีถ้ อื เปน็ ความละเอยี ดระดบั ปานกลาง จงึ เปน็ สาเหตใุ หข้ อ้ ความ (text) อา่ นไดย้ ากบนโทรทศั นท์ ีม่ คี วาม
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29