Page 33 - เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
P. 33
การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ 10-23
จากภายในภูมิภาคหรือภายในประเทศ จึงจะถือว่าเป็นสินค้าที่มาจากประเทศน้ัน ตัวอย่างข้อก�ำหนดใน
กรณนี ้ี เชน่ สนิ คา้ บางรายการในกรอบอาเซยี นระบไุ วว้ า่ “สดั สว่ นการใชว้ ตั ถดุ บิ ในภมู ภิ าคตอ้ งไมน่ อ้ ยกวา่
รอ้ ยละ 40” หรือเรียกวา่ “Local content 40%” หมายความว่าผสู้ ่งออกสินค้าดงั กล่าวต้องมสี ัดส่วนการ
ใช้วตั ถดุ บิ ภายในประเทศไม่ตํ่ากว่ารอ้ ยละ 40 หรือผ้ผู ลติ สามารถใช้สินค้าภายในประเทศไมถ่ งึ รอ้ ยละ 40
ก็ได้ แต่ต้องน�ำเข้าวัตถุดิบจากประเทศในกลุ่มสมาชิกเพ่ือรวมกันให้ได้เกินร้อยละ 40 นั่นหมายความว่า
สามารถใช้ชน้ิ สว่ นจากประเทศในกลมุ่ AEC ให้ไดอ้ ยา่ งนอ้ ยรอ้ ยละ 40 เพอื่ นำ� มาผลิตและสง่ ออกได้
3. การพิจารณาจากกระบวนการผลิตที่ส�ำคัญ (Specific Manufacturing Process: SP) มี 2
แนวทางในการพิจารณาคือ
1) การได้แหล่งก�ำเนิดโดยการผ่านกระบวนการผลิตท่ีส�ำคัญซึ่งจะต้องมีการผลิตภายใน
ประเทศ (positive list) เชน่ การใชป้ ฏกิ ริ ยิ าทางเคมี (chemical reaction) การทำ� ใหบ้ รสิ ทุ ธิ์ (purifica-
tion) เปน็ ต้น
2) การไมไ่ ดแ้ หลง่ กำ� เนดิ เนอ่ื งจากผา่ นกระบวนการผลติ ทไี่ มถ่ อื วา่ สำ� คญั (Negative List)
เชน่ การน�ำเขา้ เพอื่ มาบรรจหุ ีบหอ่ ใหม่ การทำ� ความสะอาด การแช่เยน็ การน�ำมาคัดเลอื กขนาด เป็นต้น
ซึ่งกิจกรรมเหล่านีไ้ มผ่ ่านกระบวนการแปรสภาพอยา่ งเพียงพอ
จากหลักเกณฑ์ของกฎว่าด้วยแหล่งก�ำเนิดสินค้าข้างต้นจะเห็นได้ว่า ถ้าก�ำหนดหลักเกณฑ์ที่เข้ม
งวดมากจะท�ำให้สมาชิกที่อยู่ในเขตการค้าเสรีไม่ได้รับประโยชน์การการเปิดเสรีทางการค้าเท่าที่ควร
เนื่องจากไม่ผ่านกฎว่าด้วยแหล่งก�ำเนิดสินค้าภายใต้กรอบ FTA ต่างๆ ส่งผลให้ต้องกลับมาเสียภาษี
ศุลกากรในอัตราท่ัวไป (MFN Rate) เหมือนเดิม งานศึกษาของกฤษณะและครูเกอร์ (Krishna and
Krueger, 1995) ชี้ให้เห็นว่าในการปฏิบัติตามกฎว่าด้วยแหล่งก�ำเนิดสินค้าอาจเป็นสาเหตุท่ีท�ำให้ต้นทุน
การผลติ สูงขึน้
จากภาพแสดงใหเ้ หน็ ถงึ เสน้ ผลผลติ เทา่ กนั (isoquant) ของการผลติ สนิ คา้ ชนดิ หนง่ึ ของผสู้ ง่ ออก
โดยสมมติให้เป็นการผลติ สินคา้ เพอื่ สง่ ออกไปยังประเทศทมี่ ีเขตการค้าเสรรี ่วมกนั การผลิตสนิ คา้ ดงั กลา่ ว
จ�ำเป็นต้องใช้ปัจจัยการผลิตทั้งปัจจัยแรงงาน (L) และปัจจัยทุน (K) ควบคู่กัน โดยปัจจัยแรงงานได้มา
จากภายในประเทศ ในขณะทปี่ จั จยั ทนุ จำ� เปน็ ตอ้ งนำ� เขา้ มาจากประเทศอนื่ ๆ ทไี่ มไ่ ดม้ เี ขตการคา้ เสรรี ว่ มกนั
ส�ำหรับการผลิตสินค้าในกรณีที่ไม่ต้องปฏิบัติตามกฎว่าด้วยแหล่งก�ำเนิดสินค้า ผู้ผลิตควรจะเลือกใช้ส่วน
ผสมของปัจจัยการผลติ ท่ที ำ� ใหไ้ ดต้ ้นทนุ รวมน้อยท่สี ุดทีจ่ ุด Z นัน่ คอื จดุ ทีเ่ สน้ ผลผลิตเท่ากันสมั ผสั กบั เสน้
ตน้นยั หทนุนง่ึเทคือ่ากสันัดส(ว่ AนBขอ)งกซาึ่งรมใีสชัด้ปสจั ่วจนยั ขภอางยกในารปใรชะ้ปเทัจศจัยตแอ่ รปงัจงจายันท่ีม(Lา)จาตก่อปปรัะจเจทัยศทนุนอก(เKข)ตกเาทร่าคก้าับเสรαี 0 หรืออีก
แต่ถ้ากฎว่าด้วยแหล่งก�ำเนิดสินค้าก�ำหนดสัดส่วนของการใช้ปัจจัยภายในประเทศต่อปัจจัยท่ีมา
จากประเทศนอกเขตการค้าเสรี (L/K) อยา่ งน้อย α โดยที่ >จαึงจ0ะสทง่�ำผใหลท้ผ่า�ำนใหขผ้ ้อ้ผู กล�ำติหจน�ำดเปขอน็ งตกอ้ ฎงเวป่าลด่ยี้วนย
สัดส่วนการใช้ปัจจัยแรงงานและปัจจัยทุนจากจุด Z เป็นจุด α
X
แหล่งก�ำเนิดสินค้า อย่างไรก็ตาม สัดส่วนของการใช้ปัจจัยการผลิตดังกล่าวไม่ใช่สัดส่วนท่ีท�ำให้ได้ต้นทุน
ตาํ่ สดุ ดงั นน้ั ตน้ ทนุ รวมของการใชป้ จั จยั การผลติ จงึ ยา้ ยจากเสน้ AB มาเปน็ เสน้ DE ซงึ่ มตี น้ ทนุ รวมของ
การใชป้ จั จยั การผลติ สงู ขน้ึ มากกวา่ เดมิ ดงั นน้ั ในกรณดี งั กลา่ วผผู้ ลติ จงึ ตอ้ งตดั สนิ ใจวา่ ควรจะใชส้ ทิ ธพิ เิ ศษ