Page 103 - โครงการผลิตหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
P. 103
โครงการบริการวิชาการแก่สังคมโดยงบประมาณแผ่นดิน ประจำ�ปี 2559 4-3
4.1 ประวตั ิศาสตรก์ ัมพชู า
ความรู้เกีย่ วกับยุคก่อนประวัตศิ าสตรข์ องกัมพูชาน้ันมอี ยู่นอ้ ยมาก แหล่งโบราณคดีเก่าแก่ท่สี ดุ ของ
กมั พชู าท่ีค้นพบในปัจจุบนั คือ ถ้ำ� แลงสแปน (Laang Spean) ทางตะวันออกเฉยี งเหนอื ของประเทศ ซง่ึ เช่ือวา่
ผคู้ นเรม่ิ เขา้ มาตงั้ ถน่ิ ฐานกนั เมอื่ ประมาณ 7,000 ปกี อ่ นครสิ ตกาล และแหลง่ โบราณคดสี �ำโรงเซน (Samrong Sen)
ซงึ่ เช่ือวา่ เรมิ่ มผี ู้คนเข้ามาต้งั ถ่นิ ฐานเม่อื ราว 230 ถึง 500 ปีกอ่ นคริสตกาลชาวกมั พูชาเร่มิ ร้จู ักการเล้ยี งสตั วแ์ ละ
เพาะปลกู ขา้ วไดต้ ัง้ แต่เมือ่ ราว 2,000 ก่อนครสิ ตกาล สามารถท�ำเคร่อื งมอื จากเหล็กไดต้ งั้ แต่ราว 600 ปกี ่อน
ครสิ ตกาล กอ่ นหนา้ ทอ่ี ทิ ธพิ ลจากวฒั นธรรมอนิ เดยี จะแผน่ เขา้ มาถงึ ดนิ แดนแถบนี้ ในราวปที ี่ 100 กอ่ นครสิ ตกาล
หลักฐานทางโบราณคดีบ่งชี้ว่าพื้นท่ีหลายส่วนของดินแดนประเทศกัมพูชาในปัจจุบันเริ่มมีผู้คนอาศัยอยู่ต้ังแต่
เม่ือราวสหัสวรรษแรกและสหัสวรรษที่ 2 ก่อนคริสตกาล โดยจัดเป็นวัฒนธรรมยุคหินใหม่ ซ่ึงผู้คนกลุ่มน้ี
อาจอพยพมาจากทางพน้ื ทต่ี ะวนั ออกเฉยี งใตข้ องจนี ในกอ่ นชว่ งครสิ ตศ์ ตวรรษแรก ผคู้ นในแถบนไี้ ดม้ วี วิ ฒั นาการ
สู่การตั้งถิ่นฐานเป็นหลักแหล่ง มีการจัดโครงสร้างของสังคมอย่างเป็นระบบ ซ่ึงท�ำให้สามารถพัฒนาทักษะ
วทิ ยาการต่าง ๆ ได้กา้ วหนา้ กวา่ ยคุ กอ่ น ๆ เปน็ อย่างมาก กลุ่มทีม่ ีพฒั นาการกา้ วหน้าที่สุดอาศัยอยู่ในบรเิ วณ
ชายฝง่ั ทรี่ าบลมุ่ แมน่ ำ้� โขงตอนลา่ ง และบรเิ วณสามเหลยี่ มปากแมน่ ำ้� โขง สามารถเพาะปลกู ขา้ วและเลย้ี งปศสุ ตั ว์
ได้ นกั ประวตั ศิ าสตรห์ ลายคนมคี วามเหน็ วา่ ผคู้ นกลมุ่ นไี้ ดต้ งั้ หลกั แหลง่ อาศยั กอ่ นหนา้ ผคู้ นในประเทศเพอ่ื นบา้ น
คอื เวยี ดนาม ไทย และลาว ผู้คนกล่มุ นีอ้ าจจดั อยใู่ นกลุ่มออสโตรเอเชยี ติก (Austroasiatic) หรืออย่างน้อยกม็ ี
ความสัมพันธ์กับบรรพบุรุษของมนุษย์กลุ่มดังกล่าว ซึ่งเป็นกลุ่มคนที่อาศัยอยู่ท่ัวไปในดินแดนเอเชียตะวันออก
เฉียงใต้และเกาะแก่งต่าง ๆ ของมหาสมุทรแปซฟิ ิกในปัจจบุ นั ผคู้ นเหลา่ น้มี คี วามร้ใู นงานโลหะ เช่นเหล็กและ
ส�ำริด โดยเป็นเป็นทักษะทค่ี ดิ คน้ ข้นึ เอง งานวจิ ยั ในปจั จุบันได้คน้ ว่า ชาวกัมพชู าในยุคนสี้ ามารถปรับปรงุ สภาพ
ภูมิประเทศมาต้ังแต่ยุคหินใหม่ โดยปรากฏรูปแบบเป็นพ้ืนที่รูปวงกลมขนาดใหญ่ ตามประวัติศาสตร์การเมือง
การปกครองของกมั พชู าท่ีส�ำคญั มีดงั น้ี (วิกพิ ีเดยี )
อาณาจกั รฟูนนั
อาณาจักรฟูนันเป็นรฐั ทีร่ งุ่ เรืองอยรู่ ะหว่างครสิ ตศ์ ตวรรษท่ี 1 – 6 ทต่ี ง้ั ของรฐั อย่บู รเิ วณลมุ่ แมน่ ้�ำโขง
ตอนล่าง ปัจจุบันเป็นที่ต้ังประเทศกัมพูชา เวียดนามตอนใต้ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย บางตอนของ
ลุ่มแม่น�ำ้ เจา้ พระยา และภาคใตข้ องไทย ลงมาถงึ แหลมมลายู ฟนู านรวมตวั กันเปน็ รฐั แรกของเอเชียตะวนั ออก
เฉียงใต้ เปน็ รฐั ชลประทานภายในแผน่ ดนิ ท่ีประชาชนด�ำรงชพี ดว้ ยการเกษตร โดยใชน้ �้ำจากระบบชลประทาน
ที่พัฒนาเปน็ อยา่ งดี นอกจากนั้น ฟูนานยังมเี มืองท่าส�ำหรับจอดเรือและคา้ ขายตา่ งประเทศ ฟูนาน จึงมรี ายได้
จากการคา้ ขาย การเดนิ เรอื อกี ดว้ ย เรอื่ งราวของรฐั ฟนู าน ทราบจากบนั ทกึ ของชาวจนี ทเี่ ดนิ ทางมาแถบนี้ ไดเ้ ขยี น
เลา่ ถงึ ความมงั่ คง่ั ความเปน็ อยใู่ นชมุ ชนทม่ี รี ะเบยี บ มคี ณุ ธรรม มกี ารปกครองระบอบกษตั รยิ ์ มเี มอื งตา่ ง ๆ มาขึ้น
ด้วยหลายเมอื ง มีวฒั นธรรมแท้ ๆ ของตนเอง มีการติดตอ่ กับชาวต่างประเทศ ทงั้ ในทวปี เอเชยี ด้วยกัน และโลก
ตะวันตก ชนช้ันสงู เป็นพวกมาลาโยโพลีนีเซยี น ชาวจีนบนั ทึกว่าพวกชนชน้ั พน้ื เมืองของฟนู นั ว่า ตวั เลก็ ผมหยกิ
สนั นษิ ฐานวา่ นา่ จะเปน็ พวกเนกรโิ ตและเมลานเี ซยี น ฟนู านมปี ระวตั คิ วามเปน็ มา เรม่ิ จากการรวมตวั กนั ของผคู้ น
เปน็ ชมุ ชนเล็กขนาดหมบู่ ้าน จากหมู่บ้านพฒั นาขึน้ มาเปน็ รัฐ พัฒนาจากสังคมเผ่าเปน็ สังคมรัฐ