Page 240 - โครงการผลิตหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
P. 240
8-16 หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน 16
ตราแผ่นดินของมาเลเซียน้ีสืบทอดมาจากตราแผ่นดินสหพันธรัฐมาลายาระหว่างท่ีเป็นอาณานิคมของ
องั กฤษ ดังน้ันตราทีใ่ ช้อยใู่ นปัจจุบนั จงึ ไดร้ บั อิทธิพลของตราแบบตะวันตก
รปู จนั ทร์เสีย้ ว หมายถงึ ศาสนาอิสลามอันเป็นศาสนาประจาชาติอย่างเปน็ ทางการของมาเลเซีย
ดาว 14 แฉก เรียกว่า "ดาราสหพันธ์" (Bintang Persekutuan) หมายถึงรัฐทั้ง 13 รัฐของ
สหพันธ์และดินแดนของรัฐบาลสหพันธรัฐ เดิมรูปดาว 14 แฉกน้ันใช้เป็นสัญลักษณ์แทนรัฐที่รวมเป็น
ประเทศมาเลเซียเมื่อแรกก่อตั้ง 14 รัฐ ซึ่งมีสิงคโปร์รวมอยู่ด้วย ต่อมาเม่ือสิงคโปร์แยกตัวจากสหพันธรัฐ
รปู ดาว 14 แฉกน้ีก็มิได้มีการแก้ไข ท้ังจันทร์เสี้ยวและดาว 14 แฉก มีสีเหลือง ซ่ึงหมายถึง ยังดีเปอร์ตวน
อากง กษตั รยิ ผ์ ูเ้ ปน็ องคอ์ ธิปัตยข์ องสหพันธรัฐ
รูปเสือโคร่ง 2 ตัว ท่ายืนผงาดท่ีประคองสองข้างของตราเป็นสัญลักษณ์ หมายถึง กาลัง และ
ความกล้า รูปดังกล่าวนี้มีท่ีมาจากตราด้ังเดิมของรัฐแห่งสหพันธ์มาลายา (Federated Malay States)
และสหพนั ธรฐั มาลายา (Federation of Malaya)
รปู โลใ่ นตราอาร์ม เป็นสัญลักษณ์แทนการรวมเป็นเอกภาพของรัฐตา่ ง ๆ ภายใต้สหพันธรฐั ของ
มาเลเซีย ภายในโลแ่ บง่ พืน้ ที่อย่างครา่ ว ๆ ออกเปน็ 3 สว่ น คอื หากพิจารณาตามแนวนอน หากแบง่ โดย
ละเอียดจะนบั ไดส้ ิบสว่ น ดงั นี้
1) สว่ นบนสุด บรรจภุ าพกริช 5 เล่มบนพื้นสีแดง หมายถึง อดตี รัฐมลายทู ่อี ยู่นอกสหพนั ธรัฐมาลา
ยา 5 รัฐ ได้แก่ รัฐยะโฮร์ รฐั ตรังกานู รัฐกลนั ตัน รัฐเกอดะฮ์ (ไทรบุรี) และรฐั ปะลิส
2) สว่ นกลางโล่ประกอบด้วย อันซ้ายสดุ เป็นรปู ต้นปาล์มปีนังอยเู่ หนือแพรประดบั สีฟ้า-ขาว
หมายถงึ รัฐปนี ัง ถดั มาตรงกลางเป็นแถวชอ่ งสเ่ี หลีย่ มผนื ผ้ามี 4 แถว ประกอบด้วยสีของธงชาตสิ หพนั ธรัฐ
มาลายา ได้แก่ สีแดง สดี า สขี าว และสีเหลอื ง เรียงจากซ้ายไปขวา เปน็ สที ีใ่ ชป้ ระกอบในธงประจารัฐ
สมาชิกในสหพนั ธรัฐมาลายา สว่ นขวาสดุ เป็นรูปต้นมะขามปอ้ ม (Indian gooseberry) อันเปน็ สญั ลักษณ์
ของรัฐมะละกา
3) ส่วนล่าง แบ่งออกเปน็ สามช่องเรียงลาดบั จากซ้ายไปขวา คือ ทางซ้ายสดุ เป็นรปู ตราอารม์
ประจารัฐซาบะฮ์ ตรงกลางเป็นรปู ดอกชบา ซ่ึงเปน็ ดอกไมป้ ระจาชาติ ทางขวาสุด เปน็ รปู ตราอาร์มประจา
รัฐซาราวะก์