Page 241 - โครงการผลิตหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
P. 241

โครงการบริการวิชาการแก่สังคมโดยงบประมาณแผ่นดิน ประจำ�ปี 2559         8-17

                                                                                                                   17

      แถบผ้าดา้ นล่าง ประกอบดว้ ยแพรแถบและขอ้ ความ "Bersekutu Bertambah Mutu" หมาย
วา่ "ความเป็นเอกภาพ คอื พลงั " ขอ้ ความน้ีเปน็ ภาษามลายู เขยี นด้วยอักษรโรมันและอักษรยาวี ข้อความ
ทเี่ ปน็ อักษรโรมันนีไ้ ด้ถกู นามาแทนทข่ี ้อความเดิมทเี่ ป็นภาษาอังกฤษวา่ Unity is Strength ภายหลังจาก
การประกาศเอกราชมาระยะหนึง่ แลว้

ที่มา: https://th.wikipedia.org/wiki/ตราแผน่ ดินของมาเลเซีย

ภาษาของประเทศมาเลเซีย

       เนื่องจากประเทศมาเลเซียมีหลายเชื้อชาติ จึงมีการใช้ภาษาท่ีหลากหลายตามเช้ือชาติของตน
โดยชาวมาเลเซียมีภาษามาเลย์เป็นภาษาประจาชาติ เป็นภาษาที่ใชใ้ นหมู่ชนชาติมลายูที่เป็นชนพื้นเมือง
ของคาบสมุทรมลายู พบทั้งในสงิ คโปร์และบรูไนด้วย นอกจากน้ันยงั มีภาษาอังกฤษ เน่ืองจากแหลมมลายู
เคยตกเป็นอาณานิคมของประเทศตะวันตกจึงได้รับการถ่ายทอดในเร่ืองของภาษามาด้วย รวมทั้งมีการใช้
ภาษาจีนในหมู่คนจีนท่ีอพยพย้ายถ่ินเข้ามาทาการค้าในสมัยก่อน และภาษาทมิฬ รวมทั้งภาษาประจาเผ่า
ของชนชาวเผา่ สว่ นน้อยในประเทศ

การแตง่ กาย

      การแต่งกายของชาวมาเลเซีย ผู้หญิงนิยมสวมเส้ือ “บาราจูกุง” ซึ่งเป็นเส้ือแขนยาวที่มีขนาดตัว
ยาวถึงเขา่ หรือเส้ือ “คะบาย่า” เป็นเสื้อแขนยาวสีสันสดใสและมลี ายฉลุดอกไม้ขนาดพอดตี ัวปดิ ถึงสะโพก
และนุ่งกับโสร่งท่ีมีลวดลายเข้ากับเสื้อดังภาพ บางคร้ังมีผ้าคล้องคอ และสวมรองเท้าแตะหรือรองเท้าส้น
สงู แบบสากล โสร่ง บางคนจะมีผ้าบาง ๆ คลุมศีรษะ คลมุ ไหล่ ชาวมาลายชู อบใช้เสอ้ื ผา้ สสี ดใสมลี วดลาย
ใบไม้ดอก ส่วนผู้ชายนิยมสวมเส้ือแขนยาวแบบคอปิดติดกระดุม และนุ่งกางเกงขายาวสีเดียวกับเส้ือ ท่ี
เรียกว่าชุด “บาจู มาลายู” ซึ่งมีผ้าคาดทับเอวและสวมหมวกแบบมุสลิมที่เรียกว่า “ซอเกาะ” สวมรองเท้า
หนัง คนแก่มักมีผ้าห้อยไหล่ (ที่มา: https://zaiachijido.wordpress.com/2014/11/12/วัฒนธรรมการ
แต่งกาย/มาเลเซยี )
   236   237   238   239   240   241   242   243   244   245   246