Page 342 - โครงการผลิตหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
P. 342
11-28 หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซ2ีย8น
ประเทศไทยและสาธารณรฐั อินโดนีเซียไดส ถาปนาความสัมพันธทางการทูตเม่ือวันท่ี 7 มีนาคม
ค.ศ. 1950 (พ.ศ. 2493) ความสัมพันธระหวา งประเทศท้ังสองดาํ เนินไปไดดวยดี โดยมีความสัมพนั ธอยาง
ใกลชิดไมวาทางดานการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมท้ังในระดับทวิภาคีและกรอบพหุภาคี โดยเฉพาะ
อยางยิง่ ความรว มมือภายใตกรอบอาเซียน องคการประชุมอสิ ลาม (OIC) และกลุมประเทศไมฝกใฝฝายใด
(NAM) ความสัมพันธอันดีของท้ังสองประเทศ มิไดมีเฉพาะระดับรัฐบาลเทาน้ัน แตในระดับประชาชน-
ประชาชนก็มีความสัมพันธท ี่ดีมากภาพพจนของประเทศไทยในสายตาของชาวอินโดนีเซียคือเปน ประเทศ
ที่ไมเคยตกเปนอาณานิคมของประเทศมหาอํานาจตะวันตกเปนประเทศที่ประสบความสําเร็จในการฟนฟู
และพัฒนาเศรษฐกิจ สินคาไทยมีคุณภาพแมจะมรี าคาสูงกวาสินคาชนิดเดียวกันจากประเทศอื่น คนไทย
มอี ัธยาศยั ดีมคี วามเปนมิตร และมคี วามออนนอม
อินโดนีเซียเปนประเทศที่มีความสําคัญทางยุทธศาสตรตอประเทศไทยมาก เน่ืองจากเปนแหลง
พลังงานและทรพั ยากรท่ีสาํ คัญตอเศรษฐกิจไทยโดยเฉพาะ นํ้ามนั และกาซธรรมชาติ ถานหิน การขยาย
เครือขาย พลังงานอาเซียน (ASEAN Power Grid) จะยิ่งเพ่มิ ศกั ยภาพของการลงทุน และความรวมมือ
ทางดานนี้มากยิ่งขึ้น อินโดนีเซียเปนแหลงทรัพยากรสําคัญทางดานการประมงของไทย โดยสนิ คา ประมง
ของไทยกวารอยละ 50 มาจากทะเลของอินโดนีเซีย โดยมีมูลคาปละกวา 5,000 ลานเหรียญสหรัฐ
อินโดนีเซียเปนตลาดขนาดใหญที่มีประชากรมากเปนอันดับ 4 ของโลก เปนประเทศมุสลิมที่ใหญที่สุด
ในโลกและประชากรสวนใหญเปนมุสลิมสายกลาง (moderate islam) ซึ่งมีความสําคัญอยางย่ิงใน
ปจจุบันซึ่งประเทศไทยตองเผชิญกับภัยจากการกอการรายและการใชความรุนแรงที่อาศัยศาสนาเปน
เหตุผลบังหนา อินโดนีเซียจึงเปนพันธมิตรที่แนนแฟนในการตอสูกับประเด็นเหลานี้ และในการรักษาไว
ซ่งึ สันติและความมั่นคง ปจจุบันนอ้ี ินโดนีเซียมีบทบาทสําคัญในการสงเสริมประชาธปิ ไตย สิทธมิ นุษยชน
สงิ่ แวดลอม และการแกไขปญ หาระหวางประเทศซ่งึ จะเปน ประโยชนต อ ความรวมมอื ระหวา งประเทศไทย
ในการพัฒนาความกาวหนาของอาเซียนตลอดจนการแกไขปญหาท่ีเกิดขึ้นในภูมิภาคไมวาปญหาการ
อพยพของคนไรสัญชาติ แรงงานผิดกฎหมายและสถานการณความไมสงบในสามจังหวัดชายแดนภาคใต
ของไทย
ความสัมพนั ธดานการเมืองและความมน่ั คง
ประเทศไทยและอินโดนีเซียมีความสัมพันธท่ีดีมาตลอดโดยมีกลไกความรวมมือ 2 กรอบคือ
การประชุมคณะกรรมาธิการรวม (Joint Committee หรือ JC) ในระดับรัฐมนตรีตางประเทศ และ
การประชุมคณะกรรมการระดับสูง (High Level Committee หรือ HLC) ในระดับผูบัญชาการเหลา