Page 343 - โครงการผลิตหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
P. 343

โครงกา2รบ9ริการวิชาการแก่สังคมโดยงบประมาณแผ่นดิน ประจำ�ปี 2559    11-29

ทัพ มีการแลกเปล่ียนการเยือนในระดับตางๆ อยางสมํ่าเสมอท้ังระดับราชวงศ หัวหนาฝายบริหารและ
บุคคลอื่นๆ ไมเคยมีสาเหตุของความขัดแยงท่ีสําคัญระหวางกัน แตกลับมีการใหความชวยเหลือซ่ึงกัน
และกัน เชน อินโดนีเซียจัดสงน้ํามันใหไทยเมื่อคร้ังเกิดวิกฤตนํ้ามันครั้งใหญตอนปลายทศตวรษ 1970
ประกาศสนับสนนุ เงินทุนสํารองระหวา งประเทศ (On Call Reserve) จาํ นวน 500 ลา นดอลลารสหรัฐ
เมื่อครัง้ ทป่ี ระเทศไทยประสบกบั ภาวะวิกฤตทางเศรษฐกิจในป ค.ศ. 1979 รวมทงั้ ชวยเหลือประเทศไทย
มิใหเปนเปาหมายในการโจมตีในชวงการประชุม OIC กรณีความรุนแรงท่ีเกิดขึ้นในภาคใตของประเทศ
ไทย สวนประเทศไทยไดสงกองกําลังเขารวมในกองกําลังสันติภาพในติมอรตะวันออกเมื่อป ค.ศ. 1999
สงกําลังพลพรอมทั้งรับตําแหนงผูบัญชาการในคณะผูสังเกตการณในการทําความตกลงสันติภาพอาเจะห
รวมทงั้ รวมในคณะ Aceh Monitoring Mission หรอื AMM

      ความสัมพันธทวิภาคีระหวางไทยและอินโดนีเซียในปจจุบันเนนความรวมมือดานความมั่นคง มี
การแลกเปลี่ยนประสบการณดานการแกไขปญหาและยุติความรุนแรงของสถานการณจังหวัดชายแดน
ภาคใต ซึ่งอินโดนีเซียไดแสดงความเขาใจ และสนับสนุนแนวทางของไทยในการแกไขปญหาโดยสันติวิธี
รวมทงั้ สนับสนุนไทยในเวที OIC ตลอดจนมีการรว มมือในการแลกเปลย่ี นประสบการณและสงเสรมิ ความ
รวมมือดานขาวกรองและความมั่นคงเพื่อการตอตานแนวความคิดนิยมความรุนแรง (counter
radicalization) รวมท้ังสง เสริมการสรา งความเขม แข็งของมุสลิมสายกลาง โดยสนับสนนุ การแลกเปลี่ยน
การเยอื นของผนู ําทางองคกรศาสนาของทั้งสองประเทศ ตลอดจนการสนับสนุนการหารอื ระหวางศาสนา
ตางๆ (interfaith dialogue) อยางสม่ําเสมอ นอกจากน้ีประเทศไทยและอินโดนีเซียยังมีประเพณีการ
แลกเปล่ียนการเยือนของผนู ําทางทหารในโอกาสเขา รับตําแหนงใหมและพนจากตําแหนง มีการแลกเปลี่ยน
ระหวางคณะนักศึกษาวิทยาลัยปองกันราชอาณาจักรของไทยกับนักศึกษาจาก National Resilience
Institute ของอินโดนีเซีย การฝกรวมหนวยรบพิเศษของกองทัพบก (Tiger Joint Exercise) การฝก
รวมของกองทัพเรือ (Sea Garuda) ทุกสองป การฝกรวมของกองทัพอากาศ (Elang) การแลกเปลี่ยน
นักเรียนจากท้งั สามเหลาทัพมีการลาดตะเวนรวมระหวางอินโดนีเซีย มาเลเซีย สิงคโปร และไทยในชอง
แคบมาละกา และการจัดต้งั คณะกรรมการระดับสูงไทย – อินโดนีเซยี

ความสมั พันธด า นเศรษฐกิจ
      ประเทศไทยไดเปรียบดุลการคากับอินโดนีเซียเกือบตลอดในชวงเวลาท่ีผานมา โดยอินโดนีเซีย

เปนคูคาอันดับ 3 ของไทย และอันดับ 10 ของโลก สวนไทยเปนคูคาอันดับ 3 ของอินโดนีเซีย ใน
กลุมประเทศอาเซียน อินโดนีเซียเปนตลาดสง ออกใหญอนั ดับ 8 ของไทย โดยในป ค.ศ. 2007 สินคา
   338   339   340   341   342   343   344   345   346   347   348