Page 353 - โครงการผลิตหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
P. 353

โครงการ5บริการวิชาการแก่สังคมโดยงบประมาณแผ่นดิน ประจำ�ปี 2559     12-5

การแยงชิงอํานาจภายในราชสํานักจึงเกิดข้ึนหลายๆ คร้ัง โดยมีชาติตะวันตกเขามาเก่ียวของและทําให
บรไู นเรมิ่ ออนแอและเสอื่ มอาํ นาจลง

      ชว งปลายคริสตศตวรรษท่ี 16 สถาบนั การปกครองของบรูไนออนแอลงอยา งมาก ชาตติ ะวนั ตก
ไมยอมรับอํานาจของสุลตานเกิดความวุนวายหลายครั้งจนทําใหบรูไนตองสูญเสียดินแดนท่ีเคยเปนอาณา
นิคมที่แยกตัวเปนอิสระ นอกจากน้ียังไดรับผลกระทบจากระบบเศรษฐกิจแบบผูกขาดของฮอลันดาท่ีเขา
มาสรางรากฐานทางเศรษฐกิจบริเวณชายฝงทางตอนใตและทางตะวันออกของเกาะบอรเนียวมีการกีดกนั
ทางการคา การทําลายการคาระหวางพอคาพื้นเมืองทําลายความสัมพันธทางการคาระหวางจีนกับบรูไน
สงผลใหบรูไนสูญเสียบทบาทของแหลงแวะพักเรือระหวางเสนทางการคาในภูมิภาคน้ี อังกฤษเขามาท่ี
บรูไนในชวงคริสตศตวรรษที่ 18 เพื่อหาเสนทางการคาไปยังจีน โดยมีการจัดต้ังบริษัทการคาข้ึนท่ีเกาะ
บอรเนียวซึ่งเปนสถานที่เหมาะแกการคาขายกับพอคาจีน กัปตันจอหน เฮอรเบิรต ซึ่งเปนผูบังคับบัญชา
เรือบริตาเนียไดขอใหสุลตานบรูไนยกเกาะลาบวน (ปจจุบันเปนสวนหนง่ึ ของประเทศสหพันธรัฐมาเลเซีย)
ใหเพื่อจัดตั้งบริษัทการคาพริกไทยกับบรูไนในป ค.ศ. 1755 ในชวงทศวรรรษ 1840 อังกฤษเขา
ปราบปรามโจรสลัดบริเวณเกาะบอรเนียวและทําสนธิสัญญากับบรูไน ในป ค.ศ. 1847 จัดต้ังกงสุลเพ่ือ
ปองกันเกาะลาบวน ในป ค.ศ. 1888 เกดิ สญั ญาระหวา งอังกฤษกบั บรูไน (Agreement 1888) รับรอง
ใหบรูไนเปนรัฐอารักขาของอังกฤษ (British Protectorate) และทําขอตกลงกับประเทศอังกฤษอีกดวย
ขอตกลงเสริม 1905 และ 1906 (Supplementary agreement 1905 and 1906) โดยยอมรับ
เปนรัฐในอารักขาของประเทศอังกฤษอยางเต็มรูปแบบซ่ึงการดําเนินการในดานตางๆ จะไดรับคําช้ีแนะ
หรือความเห็นชอบจากกงสุลอังกฤษประจําบรูไนยกเวนเรื่องศาสนาอิสลามซ่ึงองคสุลตานทรงสามารถ
ดาํ เนนิ การใดๆ กไ็ ด

      ในป ค.ศ. 1929 (พ.ศ. 2472) พบแหลงนาํ้ มันดิบและกาซธรรมชาติทําใหบรูไนเปล่ยี นจากท่ีเคย
คา พริกไทยและการบูรมาเปน การคา นํ้ามันปโตรเลียม ในป ค.ศ. 1956 (พ.ศ. 2501) อังกฤษตองการให
รัฐซาราวัก รัฐบอรเนียวเหนือและรัฐบรูไน รวมกันเขาเปน “สหพันธรัฐบอรเนียวเหนือ” แตสุลตาน
ฮัจจี มูดา โอมาร อะลี ชัยฟุดดิน (Sultan Haji Sir Muda Onar Ali Saifuddin) ซ่ึงเปนสุลตาน
บรูไนในขณะนั้นทรงไมเห็นดวยเพราะการเขารวมทําใหบรูไนซ่ึงมีรายไดจากน้ํามันปโตรเลียมตองแบง
รายไดดังกลาวใหกับชนชาติอ่ืน ทําใหไมเกิดสหพันธรัฐข้ึนแตกลับมีขอเสนอใหบรูไนรวมเขากับรัฐตางๆ
ในคาบสมทุ รมาลายเู ปน สหพนั ธรัฐมาเลเซียแทนเนอ่ื งจากเปนกลมุ ชาติพันธเุ ดียวกัน ในระหวา งการเจรจา
มีการเลือกต้ังทั่วไปในป ค.ศ. 1962 (พ.ศ. 2505) พรรครักยัคบรูไนหรือพรรคประชาชนบอรเนียว
(Parti Rakyat Brunei/ Borneo People Party) ชนะการเลือกตั้งจึงเสนอใหเนการาบรูไนดารุสซา
ลามเขารวมกับรัฐซาบารและรัฐซาราวัก แตถูกคัดคานโดยสุลตาน พรรครักยัคบรูไนจึงกอกบฎโดยมี
กองทัพแหงชาติกาลิมันตันภาคเหนือที่เปนกองทัพคอมมิวนิสตเขารวม แตถูกกองทัพอังกฤษและกอง
ทหารกูรขาจากสิงคโปรท่ีองคสุลตานโอมารขอให เขาปราบปรามจนสําเร็จหลงั จากนั้นมีการประกาศกฎ
อัยการศึกหลายครั้งทําใหไมมีการเลือกต้ังท่ัวไปและความพยายามรวมรฐั ตา งๆ ใหเปนสหพันธรฐั มาเลเซีย
   348   349   350   351   352   353   354   355   356   357   358